การพัฒนาโปรแกรมสำหรับจำลองการทอผ้าไหมมัดหมี่แบบหมี่รวดจากการถอดองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดบุรีรัมย์

Main Article Content

ดรัสวิน วงศ์ปรเมษฐ์
สำคัญ ฮ่อบรรทัด
สมบัติ ประจญศานต์

Abstract

This study presented the development of simulation software for Mudmee silk weaving of one step tie-dye technique (Ruad technique) through lesson distilled from local wisdom’s body of knowledge in Buriram province in order to calculate the amounts of silk threads in creating the patterns on the silk as well as to simulate the silk patterns by using mathematics principles for finding the relation between iteration of the technique and silk length together with matrix transformation for mirroring Mudmee patterns of the technique. The software was developed and can be divided into 3 parts: (1) creating the patterns, (2) calculating the use of silk threads and simulating the silk patterns, and (3) showing the results and collecting data. This was done in the form of a web application. After that, a try-out was conducted with the silk weavers groups in Buriram province. It was found that the satisfaction towards the software as a whole was at high level and the try-out of silk patterns simulation comparing with the real Mudmee silk weaving also showed that the silk patterns created by using the software was consistent with the patterns created by the real weaving process. 


Keywords: simulation software; silk; Mudmee (tie-dying); weaving cloth; local wisdom

Article Details

Section
Engineering and Architecture
Author Biographies

ดรัสวิน วงศ์ปรเมษฐ์

สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ถนนจิระ ตำบลในเมือง อำเภอมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 31000

สำคัญ ฮ่อบรรทัด

สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ถนนจิระ ตำบลในเมือง อำเภอมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 31000

สมบัติ ประจญศานต์

สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ถนนจิระ ตำบลในเมือง อำเภอมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 31000

References

[1] กระทวงศึกษาธิการและกระทรวงมหาดไทย, 2542, วัฒนธรรมพัฒนาการทางประวัติศาสตร์เอกลักษณ์และภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดบุรีรัมย์, วินัยการพิมพ์, บุรีรัมย์.
[2] พัชรินทร์ ศิริอำพันธ์กุล, 2537, ผ้าไหมบุรีรัมย์ในสมบัติอีสานใต้ 6, จูนพับลิสซิ่ง, กรุงเทพฯ.
[3] สมบัติ ประจญศานต์, 2558, การออกแบบผ้าไหมมัดหมี่รวดลายเรขศิลป์จากผังพื้นของปราสาทขอมในเขตอีสานใต้ ประเทศไทย, รายงานวิจัย, สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, บุรีรัมย์.
[4] กัญจน์ชญา จันทรังษี, 2556, การศึกษาโครงสร้างผ้าทอมือเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาลวดลายผ้าย้อมคราม : กรณีศึกษากลุ่มทอผ้าย้อมคราม บ้านดอนกอย อำเภอพรรณนานิคม จังหวัดสกลนคร, น. 21-31, ใน การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 1 "โฮมภูมิ”, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.
[5] สำคัญ ฮ่อบรรทัด, สมบัติ ประจญศานต์ และดรัสวิน วงศ์ปรเมษฐ์, 2560, การวิเคราะห์การแปลงเมทริกซ์ของลายมัดหมี่ที่ใช้เทคนิคการค้นแบบหมี่รวด, น. 1-10, ใน การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 55 เล่มที่ 2, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ,
[6] ชุติภัค ศุภะกะลิน, 2545, การจำลองภาพ 3 มิติ ของโครงสร้างผ้าทอด้วยภาษาเวอร์ชวลเรียลิตีโมเดลลิง, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
[7] เจียรนัย เล็กอุทัย, 2548, การพัฒนาโปรแกรมออกแบบลายผ้าทอโดยใช้คอมพิวเตอร์, รายงานวิจัย, ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ปทุมธานี.
[8] จรัส จีระวิพูลวรรณ, 2550, การจำลองภาพพรมทอมือด้วยเทคนิคคอมพิวเตอร์กราฟฟิก, วิทยานิพนธ์ปริญยาโท, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.