การประเมินความเสี่ยงในการรับสัมผัสฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมโครเมตร ระหว่างชุมชนที่อยู่ใกล้และไกล โรงโม่หิน จังหวัดนครศรีธรรมราช

Main Article Content

ศิริอุมา เจาะจิตต์
ปนัดดา พิบูลย์
น้ำเพชร หมื่นราช
อโณทัย เกื้อกูล

Abstract

Abstract


The objective of this study was to investigate PM10 concentration, and to assess the risk of PM10 exposure from the stone crushing plant. The study compared between the community nearby the plant (at Hin Tok sub-district, Ronpibul district, Nakhon Si Thammarat province) and the community where is 5 km away from the plant (at Na Pru sub-district, Pra Prom district, Nakhon Si Thammarat province). The PM10 was collected by high volumetric dust collector. The questionnaires were used for collecting general information and health information, and then the results were used for the risk assessment. The results of PM10 investigation revealed that at the nearby community the PM10 concentration on the rainy day, and non-rainy day were 0.0434 mg/m3, and 0.175 mg/m3, respectively, which is above the PM10 standard of Pollution Control Department. In case of further community, the PM10 concentration on the rainy day, and non-rainy day were 0.0463 mg/m3, and 0.068 mg/m3, respectively. Besides source of PM10 from the stone crushing plant, the PM10 could be generated from, for instance, open burning, traffic, or building. The results can be used as the information for air quality surveillance, since there is no air quality monitoring station in Nakhon Si Thammarat province. According to the results of health assessment and protective behavior, it was found that there is no protective behavior in both communities. At the community nearby the plant, we found people with asthma, allergy, and pneumonia for 6, 4, and 2 % of the sample, respectively. People living nearby the plant, as expected, had the higher risk from PM10 exposure than those of further community. In case of nearby community, the average risk from Hazard Quotient (HQ) exposure on rainy day, and non-rainy day was 1.27 and 5.09, respectively, whereas the average risk from HQ exposure (on rainy day, and non-rainy day was 1.34 and 2.00, for further community, respectively. The causes of the risk for are long period living in the affected community, and personal behavior, for example, smoking, exercise, and genetic factors. 


Keywords: stone crushing plant; PM10; risk assessment


 

Article Details

Section
Medical Sciences
Author Biographies

ศิริอุมา เจาะจิตต์

สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 80161

ปนัดดา พิบูลย์

สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 80161

น้ำเพชร หมื่นราช

สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 80161

อโณทัย เกื้อกูล

สำนักวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 80161

References

[1] กรมควบคุมมลพิษ สำนักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง, 2558, รายงานสถานการณ์คุณภาพอากาศและเสียงประเทศไทย, แหล่งที่มา : http://aqnis.pcd.go.th, 17 สิงหาคม 2558.
[2] Zhaozhong, F. and Kazuhiko, K., 2009, Assessing the impacts of current and future concentrations of surface ozone on crop yield with meta-analysis, Atmos. Environ. 43: 1510-1519.
[3] กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ, 2557, การประเมินความเสี่ยงผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศบริเวณตำบลหน้าพระลาน อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี, กรมอนามัย, กระทรวงสาธารณสุข.
[4] Pochanart, P., Akimoto, H., Kinjo, Y. and Tanimoto, H., 2002, Surface ozone at four remote Island sites and the preliminary assessment of the exceedances of its critical level in Japan, Atmos. Environ. 36: 4235-4250.
[5] นริศรา ไทยนาม, 2552, การแพร่กระจายของฝุ่นละอองขนาดเล็กจากโรงโม่หิน อำเภอนากลาง จังหวัดหนองบัวลำภู, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม, 141 น.
[6] วราภรณ์ สุภาอินทร์, 2546, ผลกระทบด้านสุขภาพของประชาชนจากการประกอบกิจการโรงโม่หินในตำบลแม่ลาน้อย อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่, 81 น.
[7] รัชฎาภรณ์ เจริญพร้อม, 2550, ความตระหนักของประชาชนเกี่ยวกับผลกระทบของฝุ่นละอองต่อระบบนิเวศน์ในเขตอุตสาหกรรมเหมืองหินปูนและโรงโม่ บด และย่อยหิน : กรณีศึกษาตำบลหน้าพระลาน อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพ, 198 น.
[8] ณกฤษณ์ วรรณพิน, 2553, การรับรู้ของผู้นำชุมชนและประชาชนต่อการดำเนินงานควบคุมฝุ่นละอองจากโรงโม่หิน บด และย่อยหินของตำบลหน้าพระลาน จังหวัดสระบุรี, ว.วิชาการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยศรีปทุม 2: 40-53.
[9] กรมโรงงานอุตสาหกรรม, 2557, ข้อมูลโรงงานแยกตามพื้นที่, แหล่งที่มา : http://www2.diw.go.th/factory/tumbol.asp, 28 กรกฎาคม 2558.
[10] สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช, 2559, ข้อมูลสาธารณสุข, แหล่งที่มา : http://www.nakhonsihealth.org/2016/index.php/2015-12-01-04-17-49/download/send/8-/58-2559, 21 เมษายน 2558.
[11] ศรายุทธ ลาภบุญเรือง, 2552, การตรวจวัดปริมาณฝุ่นละอองและประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากฝุ่นละอองต่อประชาชนที่อยู่อาศัยในตำบลท่าขอนยาง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม, 81 น.
[12] สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง, รายงานสถิติจำนวนประชากรและบ้าน, แหล่งที่มา : http://stat.bora.dopa.go.th/stat/stat new/statTDD/views/showDistrictData.php?rcode=80&statType1&year=58, 25 พฤษภาคม 2558.
[13] ศรีรัตน์ ล้อมพงษ์, เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์ และถิรถงษ์ ถิรมนัส, 2545, ผลกระทบของปริมาณความเข้มข้นของฝุ่นที่มีผลต่อสุขภาพนักเรียนในโรงเรียนที่อยู่ใกล้โรงงานโม่หินในเขตภาคตะวันออก, มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี, 74 น.
[14] Zhang, W., 2007, Source apportionment for urban PM10 and PM2.5 in the Beijing area, Chin. Sci. Bull. 52: 608-615.
[15] เลขา ดีแท้, 2552, ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการป้องกันฝุ่นกับภาวะสุขภาพของพนักงานโรงโม่หิน, ว.พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3(2): 57-66.
[16] ปิยะพร วัฒนพงษ์, 2544, ผลกระทบของอุตสาห กรรมเหมืองหินต่อชุมชนบริเวณเขาตกน้ำและเขาสามง่าม จังหวัดราชบุรี : การศึกษาเชิงนิเวศวิทยามนุษย์, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยรามคำแหง, กรุงเทพฯ, 116 น.
[17] ธเนศ ชัยชนะ และทิพวัลย์ ขลิดรัม, 2558, รายงานการศึกษาความเป็นไปได้ของโรงไฟฟ้ากังหันลมนอกชายฝั่งทะเลสำหรับผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก จังหวัดนครศรีธรรมราช, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, สงขลา. 71 น.