ผลของชนิดพืชตระกูลถั่วและการจัดการฟางข้าวต่อผลผลิตและความเข้มข้นของธาตุอาหารในข้าวพันธุ์ กข47 และสมบัติดิน

Main Article Content

สายชล สุขญาณกิจ
สิริวรรณ สมิทธิอาภรณ์
ธนภัทร ปลื้มพวก
ธนวรรณ พาณิชพัฒน์

Abstract

Abstract


A problem of drought in Thailand have currently severe increasing and an effect on cultivate of farmers. Therefore, the cultivation use less of water is alternative for farmer practices. The experiment was conducted objectively to study effects legume species for used as green manures and rice straw plowed on yield, nutrient concentration, nutrient uptake, economic return and some soil properties after harvesting. The experiment was arranged in randomized complete block (RCB) with 3 replications and 6 treatments consisted of Tr.1 was control, Tr.2 and Tr.3 were mungbam and soybean as green manure at seeds rate of 5 and 8 kg/rai, Tr.4 was plowed straw into soil, Tr.5 and Tr.6 were plowed straw into soil and using of mungbean and soybean as a green manure, respectively. Results revealed that application of plowed straw into soil and using of soybean as a green manure gave the highest of straw weight (828.8 kg/rai), grain yield (1,035.2 kg/rai), nutrient uptake in whole plant (N = 15.41, P = 3.27 and K = 23.58 kg/rai,) and economic return (10,870.84 baht/rai). However, the practices of plowed straw into soil and using of mungbean as green manure have a tendency higher soil fertility than other treatment (organic matter, total nitrogen and available phosphorus were 5.46, 0.29 percent and 24.82 mg/kg). Therefore, the application of plowed straw into soil and using of soybean as a green manure was used suitable for farmer in area. 


Keywords: legume; rice straw management; nutrient concentration; yield; soil property


 

Article Details

Section
Biological Sciences
Author Biographies

สายชล สุขญาณกิจ

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ถนนปรีดีพนมยงค์ ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000

สิริวรรณ สมิทธิอาภรณ์

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ถนนปรีดีพนมยงค์ ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000

ธนภัทร ปลื้มพวก

ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกพแพงแสน ตำบลกำแพงแสน อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม 73140

ธนวรรณ พาณิชพัฒน์

ภาควิชาวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกพแพงแสน ตำบลกำแพงแสน อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม 73140

References

[1] สำนักงานเกษตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ข้อมูลพื้นฐานการเกษตรสำนักงานเกษตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปี 2558/2559, แหล่งที่มา : www.ayutthaya.doae.go.th/index_files/pakart/datayutthaya.pdf, 25 สิงหาคม 2559.
[2] สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, ราคาข้าวเปลือกเจ้า ความชื้น 15 % รายเดือนที่เกษตรกรขายได้ที่ไร่นา ทั้งประเทศ ปี 2541-2561, แหล่งที่มา : http://www.oae.go.th/download/price/monthlyprice/paddy 14-15.pdf, 15 กรกฎาคม 2560.
[3] กรมส่งเสริมการเกษตร, โครงการสร้างรายได้จากพืชทดแทนนาปรังและความรู้ทางวิชาการพืชที่ใช้น้ำน้อยที่เหมาะสมในการเกาะปลูกพืชในฤดูแล้ง, แหล่งที่มา : http://www.doae.go.th/img/needgroup/need-group.html. 9 กันยายน 2559.
[4] Rekhi, R.S. and Bajwa, M.S, 1993, Effect of green manure on the yield, N uptake and floodwater properties of a flooded rice, wheat rotation receiving lSN urea on a highly permeable soil, Fertilizer Res. 34: 15-22.
[5] Aulakh, M.S., Khera, T.S., Doran, J.W., Singh, K. and Singh, B., 2000, Yields and nitrogen dynamics in a rice-wheat system using green manure and inorganic fertilizer, Soil Sci. Soc. Am. J. 64: 1867-1876.
[6] Saothongnoi, V., Amkha, S., Inubushi, K. and Smakgahn, K., 2014, Effect of rice straw incorporation on soil properties and rice yield, Thai J. Agric. Sci. 47: 7-12.
[7] Islam, M.S., Pual, N.K., Alam, M.R., Uddin, M.R., Sarker, U.K., Islam, M.A. and Park S.U., 2015, Responses of rice to green manure and nitrogen fertilizer application, Online J. Biolo. Sci. 15: 207-216.
[8] กรมพัฒนาที่ดิน, ลักษณะและสมบัติของชุดดินภาคกลาง, แหล่งที่มา : www.ldd.go.th/thaisoils_museum/pf_desc/central/Ay.html, 22 กรกฎาคม 2559.
[9] National Soil Survey Center, 1996, Soil Survey Laboratory Methods Manual. Soil Survey Investigations Report No. 42, Version 3.0, Natural Resources Conservation Service, USDA, Washington D.C.
[10] ธงชัย มาลา, 2550, ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพ : เทคนิคการผลิตและการใช้ประโยชน์, พิมพ์ครั้งที่ 2, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ, 300 น.
[11] กรมการข้าว, องค์ความรู้เรื่องข้าว, แหล่งที่มา : http://www.ricethailand.go.th/Rkb/management/index.php-file=content.php&id=2.htm#b3, 12 กรกฎาคม 2559.
[12] ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ และจงรักษ์ จันทร์เจริญสุข, 2542, แบบฝึกหัดและคู่มือปฏิบัติการวิเคราะห์ดินและพืช, ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ, 108 น.
[13] Akinrinde, E.A. and Gaizer, T., 2006, Differences in the performance and phosphorus use efficiency of some tropical rice (Oryza sativa L.) varieties, Pak. J. Nutr. 5: 206-211.
[14] อรประภา เทพศิลปวิสุทธิ์, 2560, การศึกษาเปรียบเทียบผลของปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมีต่อความสามารถในการผลิตจิงจูฉ่าย, ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 25(4): 615-626.
[15] Wong, J.W.C., Mak, K.F., Chan, N.W., Lam, A., Fang, M., Zhou, L.X., Wu, Q.T. and Liao, X.D., 2001, Co-composting of soybean residues and leaves in Hong Kong, Biores. Technol. 76: 99-106.
[16] พรทิพย์ ศรีมงคล, วิมลนันทน์ กันเกตุ และศุภสิทธิ์ สิทธาพานิช, 2557, ผลของซากพืชต่อการปลดปล่อยไนโตรเจนและการดูดใช้ไนโตรเจนของข้าว, ว.วิทยาศาสตร์เกษตร 45(2): 521-524.
[17] Kaewpradit, W., Toomsan, B., Cadisch, G., Vityakon, P., Limpinuntana, V., Saenjan, P., Jogloy, S. and Patanothai, A, 2009, Mixing groundnut residues and rice straw to improve rice yield and N use efficiency, Field Crops Res. 110: 130-138.
[18] Buarach, K., Thongjoo, C., Udomprasert, N. and Amkha, S., 2014, Effects of tillage system and soil organic matter amendment on growth, yield of Pathumthani 80 rice and carbon sequestration in paddy soil, Mod. App. Sci. 8: 1-7.
[19] Han, S.H., An, J.Y., Hwang, J. Kim, S.B. and Park, B.B., 2016, The effects of organic manure and chemical fertilizer on the growth and nutrient concentrations of yellow poplar (Liriodendron tulipifera Linn.) in a nursery system, Forest Sci. Technol. 12: 137-143.
[20] Sinkumkoon, P., Thanachit, S., Anusontpornperm, S., Kheoruenromne, I, Petprapai, P. and Bowichean, R., 2015, Influences of green manures and N-fertilizer management on nutrient uptakes and yield of cassava on a degraded sandy soil, Kasetsart J. (Nat. Sci.). 49: 375-389.
[21] Verma, T.S. and Bhagat, R.M., 1992, Impact of rice straw management practices on yield, nitrogen uptake and soil properties in a wheat-rice rotation in northern India, Fertilizer Res. 33: 97-106.
[22] อุไรวรรณ ไอยสุวรรณ์, 2557, การจัดการปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต และประสิทธิภาพการใช้ไนโตรเจนของข้าวที่ปลูกในชุดดินสรรพยา, ว.เกษตร 30(2): 133-140.
[23] นันทนา ชื่นอิ่ม, วิวัฒน์ อิงคะประดิษฐ์, สมชาย กรีฑาภิรมย์ และนุษรา สินบัวทอง, 2553, การใช้ปุ๋ยเคมีในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน, น. 325-332, ใน รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 48 สาขาพืช, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
[24] เบ็ญจพร กุลนิตย์ และวันเฉลิม ศรีบุญโรจน์, 2560, การจัดการปุ๋ยต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของการผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105, ว.เกษตรพระวรุณ 14(1): 61-70.
[25] นภาพร พันธุกมลศิลป์ และกาญจนี วิริยะพานิชย์, 2560, ผลของการจัดการปุ๋ยต่อสมบัติดิน การเจริญเติบโต และผลผลิตมันสำปะหลังในชุดดินยโสธร, ว.แก่นเกษตร 45(3): 505-514.
[26] Watanabe, T., Man, L.H., Vien, D.M., Khang, V.T., Ha, N.N., Linh, T.B. and Ito, O., 2009, Effects of continuous rice straw compost application on rice yield and soil properties in the Mekong Delta, Soil Sci. Plant Nutr. 55: 754-763.