การศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุ ตำบลทุ่งข้าวพวง อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่

Main Article Content

จันทนา สารแสง
สิวลี รัตนปัญญา

Abstract

Abstract


The research aimed to compare the quality of life of 184 elderly who participated and did not participated in the elderly school, Thung Khao Phuang sub-district, Chiang Dao district, Chiang Mai province. There were 84 elderly who participating in the elderly school activities and 100 elderly who did not participating in the elderly school activities. Instrument used include personal information interviews, measuring quality of life in older people, and open-ended interview questions on other issues and suggestions. Descriptive statistics and comparison of quality of life among the elderly using Independent t-test at 95 % and content analysis of interview questionnaire were used to analyze data. The results showed that elderly who attended in the elderly school represented the highest scored in social relationship while the elderly who did not participate in the school had the highest level of psychological well-being. Moreover, the comparison of the quality of life between elderly person who attended and did not attended to the school indicated that their health well-being, mental health, social relationship, and environment were statistically significant differences (p-value = 0.001, 0.002, ≥ 0.0001 and 0.002, respectively). Research has suggested that the local administrative organization has facilitated the delivery of the elderly participating in elderly school and various activities are appropriate for the age of the elderly. 


Keywords: quality of life; elderly school; elderly

Article Details

Section
Medical Sciences
Author Biographies

จันทนา สารแสง

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300

สิวลี รัตนปัญญา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300

References

[1] สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2558, ภาวะสังคมไทยไตรมาสสี่และภาพรวมปี 2558, สำนักพัฒนาฐานข้อมูลและตัวชี้วัดภาวะสังคม, กรุงเทพฯ.
[2] กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, 2553, พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546, สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ (สทส.), สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาสและผู้สูงอายุ, กรุงเทพฯ.
[3] คณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานผู้สูงอายุแห่งชาติ, 2552, แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564), สํานักนายกรัฐมนตรี, กรุงเทพฯ.
[4] เทศบาลตำบลทุ่งข้าวพวงอำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่, 2559, แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ. 2557-2559), เทศบาลตำบลทุ่งข้าวพวง อำเภอเชียงดาว, เชียงใหม่.
[5] เจษฎา นกน้อย และวรรณภรณ์ บริพันธ์, 2560, คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดสงขลา, ว.มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 9(3): 94-105.
[6] สำนักอนามัยผู้สูงอายุ, 2557, แนวทางการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ หลักสูตร 420 ชั่วโมง, กรมอนามัย, นนทบุรี.
[7] กระทรวงสาธารณสุข, 2559, เครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL-BREF-THAI), กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข, นนทบุรี.
[8] ธาริน สุขอนันต์, สุภาวัลย์ จาริยะศิลป์, ทัศนันท์ ทุมมานนท์ และปิยรัตน์ จิตรภักดี, 2554, คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองบ้านสวน จังหวัดชลบุรี, ว.สาธารณสุขศาสตร์ 41(3): 240-249.
[9] ลิวรรณ อุนนาภิรักษ์, วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์ วรรณา คงสุริยะนาวิน และวิลาสินี เติมเศรษฐเจริญ, 2555, ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ, ว.พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 30(2): 35-45.
[10] ยุพิน ทรัพย์แก้ว, 2558, การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยหลักสูตรโรงเรียนผู้สูงอายุของศูนย์ความเป็นเลิศด้านการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครศรีธรรมราช, ว.การพยาบาลและการศึกษา 9(2): 25-39.
[11] วิภาวรรณ ศิริล้ำเลิศ, 2551, ความสามารถในการเผชิญปัญหาและฝ่าฟันอุปสรรค ปัจจัยสภาพแวดล้อมทางสังคม และปัจจัยลักษณะทางชีวสังคมที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
[12] สุทธิพงศ์ บุญผดุง, 2554, การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในท้องถิ่นโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง (ระยะที่ 1), มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, กรุงเทพฯ.
[13] ทัศนันท์ ทุมมานนท์, 2554, คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองบ้านสวน จังหวัดชลบุรี, ว.สาธารณสุขศาสตร์ 41(3): 240-249.
[14] ชุติเดช เจียนดอน, 2554, คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในชนบท อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา, ว.สาธารณสุขศาสตร์ 41(3): 229-239.
[15] เสาวรส ฉันทธรรมสกล, 2556, การเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในเขตชุมชนเมืองกับชุมชนชนบทพื้นที่อำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร, ว.การพยาบาลและสุขภาพ 7(1): 90-101.