ผลกระทบของเหตุการณ์เอนโซที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงศักยภาพของแหล่งเพาะพันธุ์ยุงก้นปล่อง
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของเหตุการณ์เอนโซต่อการเปลี่ยนแปลงศักยภาพของแหล่งเพาะพันธุ์ยุงก้นปล่อง ในตำบลผาบ่อง อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศระหว่างปีส่งผลกระทบต่อความหนาแน่นพืชพรรณ ความชุ่มชื้น และสิ่งปกคลุมดิน ทำให้ศักยภาพของแหล่งเพาะพันธุ์ยุงก้นปล่องในตำนื่องจากื้นลดลงงกล่าวงลานีญาปริมาณน้ำฝนเพิ่มขึ้นและอุณหภูมิต่ำลงจึงส่งผลให้พืชพรรณปกคลุมดินหนาแน่นและความชุ่มชื้นเพิ่มขึ้นบลผาบ่องเปลี่ยนแปลง จากผลการศึกษาพบว่าเหตุการณ์ลานีญาสัมพันธ์กับปริมาณน้ำฝนเพิ่มขึ้นและอุณหภูมิเฉลี่ยลดลง ส่วนเหตุการณ์เอลนีโญสัมพันธ์กับปริมาณน้ำฝนลดลงและอุณหภูมิเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ในช่วงเหตุการณ์ลานีญาบริเวณตอนกลางและฝั่งตะวันตกของตำบลผาบ่องมีศักยภาพเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงก้นปล่องเพิ่มขึ้น เนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวเป็นป่าไม้ผลัดใบและพื้นที่เกษตรทำให้ความหนาแน่นของพืชพรรณและความชุ่มชื้นเปลี่ยนแปลงตามสภาพภูมิอากาศ ดังนั้นเมื่อเข้าสู่ช่วงลานีญาปริมาณน้ำฝนเพิ่มขึ้นและอุณหภูมิลดลงจะส่งผลให้พืชพรรณปกคลุมดินหนาแน่นและความชุ่มชื้นเพิ่มขึ้น ในขณะที่เหตุการณ์เอลนีโญส่งผลให้บริเวณดังกล่าวมีศักยภาพแหล่งเพาะพันธุ์ยุงก้นปล่องลดลงเนื่องจากปริมาณน้ำฝนลดลงและอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นทำให้พืชพรรณปกคลุมดินและความชุ่มชื้นลดลง
คำสำคัญ : ผลกระทบ; เหตุการณ์เอนโซ; แหล่งเพาะพันธุ์ยุงก้นปล่อง; ตำบลผาบ่อง
Article Details
References
[2] Rebecca Lindsey, Global impacts of El Niño and La Niña, Available Source: https://www.climate.gov/news-features/feature d-images/global-impacts-el-ni%C3%B1o-a nd-la-ni%C3%B1a, January 2, 2018.
[3] Martens, P., Kovats, R.S., Nijhof, S., de Vries, P., Livermore, M.T.J., Bradley, D.J., Cox, J. and McMichael, A.J., 1999, Climate change and future population at risk of malaria, Global Environ. Change 9: S89-S107.
[4] Parham, P.E. and Michael, E., 2010, Modeling the Effects of Weather and Climate Change on Malaria Transmission, Environmental Health Perspectives 118 (5): pp. 620-626.
[5] Tonnang, H.E.Z., Kangalawe, R.Y.M. and Yanda, P.Z., 2010, Predicting and mapping malaria under climate change scenarios: The potential redistribution of malaria vectors in Africa, Malaria J. 9: 111-120.
[6] Githeko, A.K., Ototo, E.N. and Yan, G., 2012, Progress towards understanding the ecology and epidemiology of malaria in the Western Kenya Highlands: Opportuni ties and challenges for control under climate change risk, Acta Trop. 121: 19-25.
[7] Craig, M.H., Snow, R.W. and le Sueur, D., 1999, A climate-based distribution model of malaria transmission in Sub-Saharan Africa, Parasitol. Today 15: 105-111.
[8] ศุทธินี ดนตรี, 2549, ความรู้พื้นฐานด้านการสำรวจจากระยะไกล (Remote Sensing), ภาค วิชาภูมิศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่, เชียงใหม่, 296 น.
[9] แคแสด มงคลสวัสดิ์ และชรัตน์ มงคลสวัสดิ์, 2552, แนวทางการใช้ดัชนีพืชพรรณและความชื้นของข้อมูลดาวเทียมหลายช่วงเวลาเพื่อติดตามตรวจสอบความแห้งแล้งจากสภาวะด้านชีพลักษณ์ของป่ามรสุมเขตร้อน, ว.สมาคมสำรวจข้อมูลระยะไกลและสารสนเทศภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย 10(2): 33-53.
[10] ขนิษฐา สุทธิบริบาล, สมนิมิตร พุกงาม และปิยพงษ์ ทองดีนอก, 2554, การประเมินค่าความชื้นในดินโดยใช้ดัชนีพืชพรรณบริเวณไร่มันสำปะหลัง อำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา, ว.วนศาสตร์ 30(3): 24-32.
[11] สมทัศน์ มะลิกุล, 2525, มาลาเรียวิทยา, โรงพิมพ์อักษรพัฒนา, กรุงเทพฯ.
[12] สดศรี ไทยทอง, 2540, ชีววิทยาและพันธุกรรมของเชื้อมาลาเรีย, ใน จันทรา เหล่าถาวร และศรชัย หลูอารีย์วุวรรณ (บรรณาธิการ), มาลาเรีย, โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหล่งประเทศไทย จำกัด, กรุงเทพฯ.
[13] USGS EarthExplorer, EarthExplorer, Avail able Source: http://earthexplorer.usgs.gov, March 1, 2016.
[14] Centers for Disease Control and Prevention, CDC Malaria Maps, Available Source: https: //www.cdc.gov/malaria/travelers/about_maps.html, January 2, 2018.
[15] Hassan, A.N., Nogoumy, N.E. and Kassem, H.A., 2013, Characterization of landscape features associated with mosquito breeding in Urban Cairo using remote sensing, Egypt. J. Remote Sensing Space Sci. 16: 63-69.
[16] Gao, B.C., 1996, NDWI-A normalized difference water index for remote sensensing of vegetation liquid water from space, Remote Sensing Environ. 58: 257-266.
[17] Smith, M.W., Macklin, M.G. and Thomas, C.J., 2013. Hydrological and geomorphological controls of malaria transmission, Earth Sci. Rev. 116: 109-127.
[18] Mabaso, M.L.H., Kleinschmidt, I., Sharp, B. and Smith, T., 2007, El Nino Southern Oscillation (ENSO) and annual malaria incidence in southern Africa, Trans. Royal Soc. Trop. Med. Hyg. 101: 326-330.
[19] Lindblade, K.A., Walker, E.D., Onapa, A.W., Katungu, J. and Wilson, M.L., 1999, Highland malaria in Uganda: Prospective analysis of an epidemic associated with El Nino, Trans. Royel Soc. Trop. Med. Hyg. 93: 480-487.
[20] Lindsay, S.W., Bodker, R., Malima, R., Msangeni, H.A. and Kisinza, W., 2000, Effect of 1997-98 El Nino on highland malaria in Tanzania, The Lancet 355(9208): 989-990.