ผลของการใช้ใบหม่อนทดแทนอาหารสำเร็จรูปต่อสมรรถภาพการผลิต และลักษณะซากของกระต่ายลูกผสมพื้นเมือง
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาการใช้ใบหม่อนทดแทนอาหารสำเร็จรูปต่อสมรรถภาพการผลิตและลักษณะซากของกระต่ายลูกผสมพื้นเมืองเฟลมมิช ไจแอนท์หลังหย่านมที่อายุ 6 สัปดาห์ จำนวน 30 ตัว แบ่งออกเป็น 5 กลุ่มกลุ่มละ 6 ตัว (เพศผู้ 4 ตัว และเพศเมีย 2 ตัว) แบ่งทรีทเมนต์ตามระดับการใช้ใบหม่อนทดแทนอาหารสำเร็จรูป 5 ระดับ คือ 0, 25, 50,75 และ 100% ตามแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) ระยะเวลาการทดลอง 13 สัปดาห์ ผลการทดลองพบว่า กระต่ายกลุ่มที่ได้รับใบหม่อนทดแทนอาหารสำเร็จรูปที่ระดับ 50% มีปริมาณการกินอาหาร น้ำหนักที่เพิ่มขึ้น และอัตราการเจริญเติบโตสูงกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) นอกจากนั้น กระต่ายที่ได้รับใบหม่อนทดแทนอาหารสำเร็จรูปที่ระดับ 25 และ 50% มีเปอร์เซ็นต์ซากสูงกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.01)
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ก่อนเท่านั้น
References
สุวรรณา พรพจน์ศุภกิจ จุฑารัตน์ ศรีพรมมา และชวนิศนดากร วรวรรณ. (2523). การศึกษาการผลิตกระต่ายเนื้อในประเทศไทย
การศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตการใช้อาหารและการตายของกระต่ายลูกผสมพันธุ์นิวซีแลนด์ไว้ท์ 75 เปอร์เซ็นต์ พันธุ์
แคลิฟอร์เนียน 75 เปอร์เซ็นต์ กับกระต่ายพื้นเมือง. การประชุมวิชาการทางเกษตรศาสตร์และชีววิทยา สาขาสัตว์ ครั้งที่ 18.
กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เยาวมาลย์ ค้าเจริญ. (2546). การผลิตกระต่าย. ขอนแก่น: ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Belabbas, R., de la luz Garcia, M., AinBaziz, H., Benali, N., Berbar, A., Boumahid, Z. and Argente MJ. (2019).
Growth performances, carcass traits, meat quality, and blood metabolic parameter in rabbits of local Algerian
population and synthetic line. Vet World, 12(1), 55-62.
Deshmukh, SV., Pathak, NN., Takalikar, DA. and Digraskar, SU. (1993). Nutritional effect of mulberry (Morus alba)
leaves as sole ration of adult rabbits. World Rabbit Science, 1(2), 67-69.
Al-kirshi, R., Alimon, AR., Zulkifli, I., Sazili, A., Zahari, MW. and Ivan, M. (2010). Utilization of mulberry leaf meal
(Morus alba) as protein supplement in diets for laying hens. Ital J Anim Sci, 9(3), 265-267.
Bamikole, MA., Ikhatua, MI., Ikhatua, UJ. and Ezenwa, IV. (2005). Nutritive value of mulberry (Morus spp.) leaves
in the growing rabbits in Nigeria. Pak J Nutr, 4(4), 231-236.
Martinez, M., Motta, W., Cervera, C. and Pla, M. (2005). Feeding mulberry leaves to fattening rabbits: effect on
growth, carcass characteristics and meat quality. Anim Sci, 80(3), 275-281.
Guo, ZQ., Mei, XL., Lei, M., Ren, YJ., Kuang, LD., Zheng, J., Li, CY., Xie, XH. and Yang, C. (2017). Fresh mulberry
leaves-supplemented diets on performance and meat quality of rabbit. Southwest China Journal of Agricultural
Sciences, 30(1), 215-221.
Hou, QR., Zhang, J., Chen, T., Zhao, WG. and Li, L. (2020). Effect of dietary supplement of mulberry leaf (Morus
alba) on growth and meat quality in rabbits. Indian J Anim Res, 54(3), 317-321.
Institude Statistical Analysis System. (2002). SAS User’s Guide: Statistics. 9th ed. SAS Institute Inc.
Smith, SE., Donefer, E. and Mathieu, LG. (1960). Protein for growing fattening rabbits. Feed Age, 10(7), 52-54.
Templeton, GS. (1968). Domestic rabbit production. 4th ed. Illinois: Interstate Printers & Publishers.
สมศรี กันตรัตนากุล ชัยฤกษ์ มณีพงษ์ เกษมศักดิ์ ตั้งมั่น สมยศ ด่านขุนทด จำลอง หน่วยจันทึก และวิรัตน์ สุขีวงศ์. (2534).
การศึกษาเพื่อประเมินหาพันธุ์หม่อนที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงไหมพ่อ-แม่พันธุ์ 1. คุณค่าอาหารของใบหม่อนต่อการเจริญเติบโตของ
ไหมวัยอ่อนและผลกระทบต่อการเลี้ยงไหมวัยแก่. การประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 29 (น. 389-396).
กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Hou, QR., Zhao, WG., Chen, T. and Li, L. (2018). Phytochemicals (phenolic acids, flavonoids, and alkaloids)
contribution to the feeding value of mulberry (Morus spp.) for rabbits. Afr J Agric Res, 13(51), 2881-2888.