ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มและข้อแนะนำการบริโภคอาหารคลีนเพื่อสุขภาพในทศวรรษ 2020

Main Article Content

กมลวรรณ พงษ์กุล

บทคัดย่อ

กระแสเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของประชาชนในปัจจุบันมีความแตกต่างจากในอดีตมาก กระแสสุขภาพทั่วโลกไม่ได้หยุดแค่เรื่องของการรักษาโรคให้สมบูรณ์แข็งแรงเท่านั้นแต่ยังหันมาให้ความสนใจเรื่องของการป้องกันและดูแลสุขภาพก่อนที่จะมีการเจ็บป่วย รวมถึงรักษาสภาพจิตใจให้สมบูรณ์และแข็งแรง กระแสการรับประทานอาหารคลีนเป็นตัวอย่างที่ชัดเจน บทความวิชาการชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความนิยามความหมายของอาหารคลีน (Clean Food), ปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food) ของผู้บริโภคโดยรวม ประกอบกับข้อมูลทางเอกสารทางวิชาการ และเพื่อศึกษาแนวโน้มการบริโภคอาหารสุขภาพของประชากรในช่วงทศวรรษ 2020 โดยการศึกษาค้นคว้าพบว่ากลุ่มตัวอย่างผู้บริโภควัยทำงานในกรุงเทพมหานครให้ความสำคัญกับปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์มากที่สุดในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารคลีน ผู้ที่เลือกทานผลิตภัณฑ์อาหารคลีนยินดีที่จะจ่ายเงินเพิ่มเล็กน้อยเพื่อในการซื้ออาหารสุขภาพ          โดยการศึกษายังพบว่าส่วนมากเคยทานอาหารคลีนและเลือกไม่รับประทานต่อ สถานการณ์โควิด-19 เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกทานอาหารและเครื่องดื่มคลีนเพื่อสุขภาพมากขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมภูมิต้านทานให้ร่างกาย ทั้งนี้องค์กรด้านสาธารณสุขยังได้แนะนำด้านแนวทางการเลือกทานอาหารสุขภาพเพื่อสุขภาพร่างกายที่ดีในระยะยาว เช่น ลดหวาน มัน เค็ม

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

Kokkori, K. and Stavrova, O. (2021). Meaning of food and consumer eating behaviors. Food Quality and Preference, 94(4), 1-5.

กระทรวงสาธารณสุข. (2561). รู้ทันมหันตภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง...ภัยเงียบใกล้ตัว. สืบค้น 12 กรกฎาคม 2565, จากhttp://www.thaincd.com/document/file/download/knowledge/รู้ทันมหันตภัยโรคไม่ติดต่อ

Mintel. (2021). 42% OF THAI CONSUMERS SPEND MORE ON HEALTHY LIVING. Retrieved 12nd July 2022, from https://www.mintel.com/press-centre/social-and-lifestyle/42-of-thai-consumers-spend-more-on-healthy-living

Hfocus. (2020). สำรวจโควิด19 ทำคนไทยกินอาหารปรุงเองมากขึ้นกว่า 57.48% ซื้อปรุงสำเร็จน้อยลง. สืบค้น 14 กรกฎาคม 2565, จาก https://www.hfocus.org/content/2020/06/19588

กุสุมา ไชยสูตร. (2015). อาหารคลีน. สืบค้น 14 กรกฎาคม 2565, จาก https://www.si.mahidol.ac.th/siriraj_online/thai_

version/Health_detail.asp?id=1205

นักสิทธิ์ ปัญโญใหญ่. (2558). อาหารเพื่อสุขภาพ (Food for Health). ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

Srour, B., Kesse-Guyot, E., Allès, B., Andrianasolo, R.M., Deschasaux, M., Galan, P., Julia, C. and Touvier, M. (2019). Ultra-processed food intake and risk of cardiovascular disease: prospective cohort study (NutriNet-Santé). The bmj, 365, 1-14.

Ambwani, S., Sellinger, G., Rose, K., Richmond, T. and Sonneville, K. (2020). It’s Healthy Because It’s Natural. Perceptions of “Clean” Eating among U.S. Adolescents and Emerging Adults. Nutrients. 12(6), 1708.

Ambwani, S., Shippe, M., Gao, V., and Austin, S. (2019). Is #cleaneating a healthy or harmful dietary strategy? Perceptions of clean eating and associations with disordered eating among young adults. Journal of Eating Disorders, 7(17), 1-4.

Healthierlogo. (2022). ทางเลือกสุขภาพ. สืบค้น 12 กรกฎาคม 2565, จาก https://healthierlogo.com/ข้อมูลโครงการ/ความเป็นมา/

Morin, I. (2017). Asian consumers and healthy eating. Retrieved 12nd July 2022, from https://www.elevatelimited.com/insights/newsletters/asian-consumers-and-healthy-eating/

สำนักพัฒนาตลาดและธุรกิจไทยในต่างประเทศ. (2564). กลุ่มผู้บริโภค “กินคลีน” ขยายตัวมากขึ้น. กรมการส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ, 17, 1-9.

ธิติมา พัดลม. (2558). พฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food) ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา, 4(2), 1-21.

ชนัญญา พรศักดิ์วิวัฒน์. (2560). พฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพรูปแบบอาหารคลีน (Clean Food) กลุ่มวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร. การศึกษาค้นคว้าอิสระ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธรุกิจ, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

Dunn, S.T. (2015). 10 Reasons to Eat Clean", Clean Eating. Retrieved 19th July 2022, from https://www.cleaneatingmag.com/clean-diet/10-reasons-to-eat-clean/

Wu, H., Flint. A.J., Qi, Q., van Dam, R.M., Sampson, L.A., Rimm, E.B., Holmes, M.D., Willett, W.C., Hu, F.B., Sun, Q. (2015). Association Between Dietary Whole Grain Intake and Risk of Mortality. JAMA Internal Medicine, 175(3), 373-384.

Tanoue, L. (2009). Fruit and vegetable consumption and lung cancer risk: Updated information from the European Prospective Investigation into Cancer and Nutrition (EPIC). Yearbook of Pulmonary Disease, 1121(15), 143-144.

Digiulio, S. (2014). Doing THIS Means You'll Eat 137 Fewer Calories Every Day. Retrieved 23th July 2022, from https://www.prevention.com/food-nutrition/healthy-eating/a20428744/cook-at-home-to-lose-more-weight/

Lempert, P. (2020). Food Trends Forecast 2021: Being Healthy In A Post Covid-19 World. Retrieved 1st July 2022, from https://www.forbes.com/sites/phillempert/2020/10/19/food-trends-2021-staying-healthy-in-a-post-covid-19-world/?sh=4eb3c684485b

WHO. (2020). A healthy diet is essential for good health and nutrition. Retrieved 26th July 2022, from https://www.who.int/initiatives/behealthy/healthy-diet

Physicians Committee. (2022). 2020-2025 Dietary Guidelines for Americans Recommendations. Retrieved 26th July 2022, from https://www.pcrm.org/good-nutrition/nutrition-programs-policies/2020-2025-dietary-guidelines