การศึกษาการจัดการโซ่อุปทานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวหอมมะลิ 105 บ้านยาง โดยใช้ตัวแบบจำลองอ้างอิงการดำเนินงานโซ่อุปทาน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาปัญหาการจัดการห่วงโซ่อุปทาน ข้าวหอมมะลิ GAP ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวหอมมะลิ 105 บ้านยาง ตำบลน้ำคำ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ และเสนอแนะแนวทางในการจัดการห่วงโซ่อุปทาน ข้าวหอมมะลิ GAP ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวหอมมะลิ 105 บ้านยาง ตำบลน้ำคำ อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ เก็บข้อมูลโดยเลือกกลุ่มตัวอย่างจากสมาชิกวิสาหกิจชุมชนข้าวหอมมะลิ 105 บ้านยาง โรงสี ผู้ส่งออก และผู้บริโภคที่ซื้อข้าวจากโรงสี ด้วยวิธีเฉพาะเจาะจงด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก พบว่า องค์ประกอบของกระบวนการในโซ่อุปทาน ประกอบไปด้วย กระบวนการวางแผน การจัดหา การผลิต การส่งมอบ และการสนับสนุน ซึ่งกระบวนการที่ควรปรับปรุงเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในโซ่อุปทานได้แก่ กระบวนการวางแผน กระบวนการจัดหา กระบวนการผลิต และกระบวนการสนับสนุน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ก่อนเท่านั้น
References
กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. (2565) สถานการณ์ข้าวไทยในปี 2564. สืบค้น 20 สิงหาคม 2565. จาก https://api.dtn.go.th/files/v3/60ab890cef41404c2c04c4b6/download.
กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. (2565) สถานการณ์ข้าวไทยในปี 2564. สืบค้น 20 สิงหาคม 2565. จาก https://api.dtn.go.th/files/v3/60ab890cef41404c2c04c4b6/download.
ลัดดา ปินตา และมานิตย์ มัลลวงค์. (2565). อิทธิพลของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดและทัศนคติที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อผักปลอดสารพิษของผู้บริโภค ในเขตอำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. วารสารบริหารธุรกิจและศิลปะศาสตร์ ราชมงคล ล้านนา, 10(1), 1-24.
ศิริรัตน์ ตรงวัฒนาวุฒิ ปิยวรรณ สิริประเสริฐศิลป์ และชัยวัฒน์ ใบไม้. (2561). การวิเคราะห์ห่วงโซ่อุปทานโรงสีข้าวอินทรีย์ขนาดเล็กจังหวัดเชียงใหม่ โดยตัวแบบจำลองอ้างอิงการดำเนินงานโซ่อุปทาน. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก, 36(1), 158-180.
Hasibuan, A., Arfah, M., Parinduri, L., Hernawati, T., Harahap, B., Sibuea, S.R. and Sulaiman, OK. (2018). Performance analysis of supply chain management with supply chain operation reference model. In Journal of Physics: Conference Series, 1007, 1-8.
สุรพงษ์ คงสัตย์ และธีรชาติ ธรรมวงค์. (2551). การหาค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม (IOC). สืบค้น 10 ธันวาคม 2565. จาก https://www.mcu.ac.th/article/detail/14329.
เบญจมาศ โตส้ม. (2557). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกสระแก้ว เขต 1 (วิทยานิพนธ์ศึกษามหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
สนั่น เถาชารี และระพีพันธ์ ปิตาคะโส. (2555). การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานข้าวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ของประเทศไทย. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 17(1), 125-141.
ธันยธร ติณภพ ศิริลักษณ์ เมฆสังข์ และฉันทนา จันทร์บรรจง. (2016). การจัดการห่วงโซ่อุปทานโดยวิสาหกิจชุมชนผลิตข้าวอินทรีย์ในเขตภาคกลางของประเทศไทย. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 11(3), 320-330.
Verma, R. & Boyer, K. (2010). Operations & supply chain: management world class theory and practice. Mason, Ohio: South-Western/Cengage Learning.
ศิริสรณ์เจริญ กมลลิ้มสกุล ทวี วัชระเกียรติศักดิ์ ดวงพร กิจอาทร และสุวรรณา เตชะธีระปรีดา. (2560). การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานข้าวจังหวัดนครราชสีมา:สถานการณ์ปัจจุบัน ความเชื่อมโยง ปัญหา และแนวทางการพัฒนา. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี, 2(11), 119-143.
ทำนอง ชิดชอบ นันทา สมเป็น สุนิสา เยาวสกุลมาศ และประทีป ดวงแว่ว. (2557). การพัฒนาแบบจำลองโซ่อุปทานของข้าวหอมมะลิอินทรีย์ในประเทศไทย. วารสารแก่นเกษตร, 42(2), 243-248.
เทียน เลรามัญ. (2558). การบริหารจัดการกลุ่มผู้ปลูกผักอินทรีย์โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนตำบลหนองป่าครั่ง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 3(3), 309-318.
ณิชากร ทองเปลว และ พอพันธ์ วัชจิตพันธ์. (2563). การบูรณาการซัพพลายเออร์และผลดำเนินงานของผู้ผลิตในอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย: เปรียบเทียบโมเดลเชิงสาเหตุ. วารสารวิจัย, 13(1), 20-29.
ชัยวัฒน์ ใบไม้ และศิริรัตน์ ตรงวัฒนาวุฒิ. (2018). การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตของโรงสีข้าวอินทรีย์ขนาดเล็กในจังหวัดเชียงใหม่จากการวิเคราะห์ด้วยตัวแบบ SCOR. RMUTT Global Business and Economics Review, 13(1), 123-138.