ความหลากชนิดของหอยสองฝาน้ำจืดในพื้นที่อ่างเก็บน้ำเขื่อนน้ำอูน จังหวัดสกลนคร
คำสำคัญ:
หอยกาบน้ำจืด, ความหลากชนิด, เขื่อนน้ำอูนบทคัดย่อ
ความหลากชนิดของหอยสองฝาน้ำจืดในพื้นที่อ่างเก็บน้ำเขื่อนน้ำอูน จังหวัดสกลนคร จากการสำรวจตัวอย่างระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2560 ถึงเดือนมิถุนายน 2561 พบหอยสองฝาน้ำจืด จำนวน 9 ชนิด ค่าเฉลี่ยดัชนีความมากชนิด ดัชนีความหลากหลาย และดัชนีความเท่าเทียมเท่ากับ 1.43±0.28, 1.32±0.21 และ 0.55±0.07 ตามลำดับ โดยหอยทราย (Corbicula moreletiana) สามารถพบได้ทุกพื้นที่และทุกช่วงเวลา หอยสองฝาน้ำจืดที่พบในการศึกษาครั้งนี้มี 5 ชนิด ถูกจัดอยู่ในสถานะภาพขาดข้อมูลในบัญชีรายชื่อชนิดที่ถูกคุกคาม ได้แก่ Pilsbryoconcha exilis compressa, Pseudodon inoscularis cumingi, Pseudodon vondembuschianus ellipticus, Cristaria plicata และ Scabies crispata ซึ่งควรมีการศึกษาวิจัยด้านชีววิทยา ที่อยู่อาศัย การแพร่กระจาย และการสืบพันธุ์เพื่อการอนุรักษ์ คุ้มครอง และใช้ประโยชน์ต่อไป
References
กัญญาณัฐ สุนทรประสิทธิ์. (2555). การใช้แมลงน้ำเป็นตัวบ่งชี้คุณภาพน้ำในกว๊านพะเยา จังหวัดพะเยา. วารสารวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน. 5(1): 15-24.
กัญญาณัฐ สุนทรประสิทธิ์, ศิริลักษณ์ วลัญช์เพียร และสันธิวัฒน์ พิทักษ์พล. (2556). ความหลากหลายของแมลงน้ำในแม่น้ำอิง. วารสารแก่นเกษตร. 41(ฉบับพิเศษ 1): 142-148.
กรมอุตุนิยมวิทยา. (2561). ฤดูกาลของประเทศไทย. ค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม 2561. http://www.tmd.go.th/info/info.php? FileID=53 จุฑามาศ จิวาลักษณ์ม พิชิต พรหมประศรี และอรภา นาคจินดา. (2550). หอยกาบน้ำจืดของไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย: กรุงเทพฯ.
สมภพ ฐิตะวสันต์. (2537). หลักการผลิตพืช. สำนักพิมพ์รั้วเขียว: กรุงเทพฯ.
ชุติมา หาญจวณิช และนิศารัตน์ ตั้งไพโรจน์วงศ์. (2550). การเปรียบเทียบโครงสร้างสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดินในบริเวณที่มีกิจกรรมของมนุษย์ต่างกันในลำน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 12(4): 402-419.
ทวนทอง จุฑาเกต. (2556). นิเวศวิทยาประชาคมแหล่งน้ำ: ข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อุบลราชธานี.
บุญส่ง ศรีเจริญธรรม, จินตนา บุญทองช่วย และพิสิฐ ภูมิคง. (2558). การเปลี่ยนแปลงเชิงสถานที่และเวลาของประชาคมปลาในแม่น้ำเจ้าพระยาระหว่างปี 2551-2557. วารสารการประมง. 68(3): 201-223.
วัชราภรณ์ ตันติพนาทิพย์. (2561). ความหลากชนิดของหอยน้ำจืดฝาเดียวและการประยุกต์ใช้ในการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำภายในมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 13(1): 21-31.
สาธิต โกวิทวที, อุทัยวรรณ โกวิทวที, สนธิพันธ์ ผาสุกดี, อรภา นาคจินดา, อ้อมเดือน มีจุ้ย, กรรณิกา ชัชวาลวานิช, สุธาทิพย์ ศิริไพศาล, อัจจนา วงศ์ชัยสุวัฒน์, บงกชรัตน์ ปิติยนต์, นันทวัน บุณยะประภัศร และนันทยา จงใจเทศ. (2548). การพัฒนาการเพาะเลี้ยงไข่มุกน้ำจืดในประเทศไทย. สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพฯ.
สาวิกา กัลปพฤกษ์ และ สิทธิ กุหลาบทอง. (2556). การประยุกต์ใช้หอยสองฝาในการจัดการคุณภาพน้ำ. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal. 6(3): 846-859.
สาวิกา กัลปพฤกษ์, สิทธิ กุหลาบทอง, และ ราชิต เพ็งสีแสง. (2559). ความหลากหลายชนิดพันธุ์ของหอยน้ำจืดที่พบในพื้นที่ลุ่มน้ำชีตอนบน จังหวัดชัยภูมิ. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal Science and Technology Silpakron University. 3(2): 27-34.
สุชาติ ผึ่งฉิมพลี. (2550). ชนิดและการแพร่กระจายของหอยน้ำจืดในแม่น้ำป่าสักตอนล่าง. สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด. กรมประมง. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพฯ.
สมศักดิ์ ระยัน, บุญทิวา ชาติชำนิ, อมรรัตน์ รังสิวิวัฒน์, สุกัญญา คำหล้า, และ สายฝน แก้วดอนรี. (2561). ความผันแปรเชิงพื้นที่และฤดูกาลต่อความชุกชุมของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดินในอ่างเก็บน้ำเขื่อนน้ำอูน จังหวัดสกลนคร. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก. 11(1): 9-20.
อุทัยวรรณ โกวิทวที. (2557). ชีววิทยาของหอยกาบน้ำจืด. ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
Brandt, R.A.M. (1974). The non – marine aquatic Mollusca of Thailand. Archivfur Molluskenkunde. 105: 1-423.
Bogan A.E. and Cummings K. (2011). Cristaria plicata. The IUCN red list of threatened species 2011. e.T166309A6197829. http://dx.doi.org/10.2305/IUCN.UK.2011-2.RLTS.T166309A6197829.en
Clarke K.R. and Warwick R.M. (1994). Change in Marine Communities; an approach to statistical analysis and interpretation. Plymouth Marine Laboratory. Plymouth.
Graf D. and Cummings K. (2007). Review of the systematics and global diversity of freshwater mussel species (Bivalvia: Unionoida). Journal of Molluscan Studies. 73: 291-314.
Howard A.D. and Cuffey K.M. (2006). The functional role of native freshwater mussels in the fluviabenthic environment. Freshwater Biology. 51: 460-474.
Li J.L. (2007). Exploitation and protection of germplasm resources of freshwater pearl mussel. Scientific Fish Farming 6:1-2.
Nabhitabhata, J. (2009). Checklist of Mollusca fauna in Thailand. Office of Natural Resource and Environmental Policy and Planing, Bangkok, Thailand. 576 pp.
Panha S. (1990). The site survey and the study on reproductive cycles of freshwater pearl mussels in the Central Part of Thailand. Venus 49(3): 240-250.
Panha S. (1992). Infection experiment of the glochidium of a freshwater pearl mussels, Hyriopsis (Limnoscapha) myersiana (Lea, 1856). Venus. 51(4): 303-314.
Poomsripanon J. (2014). Freshwater mollusk as the bio-indicator of the natural freshwater reservoirs in Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi, Huntra campus. RMUTSB Acadamic Journal 2(1): 9-22.
Shannon C.E. and Weaver W. (1949). A Mathematical Model of Communication. University of Illinois Press, Urbana, Illinois, USA.
Sheldon A.L. (1969). Equitability Indice: Dependence on the Species Count. Ecology. 50: 466-467.
Vaughn C.C. (2017). Ecosystem services provided by freshwater mussels. Hydrobiologia. Doi: 10.1007/s10750-017-3139-x.
Vaughn C.C. Nichols S.J. and Spooner D.E. (2008). Community and foodweb ecology of freshwater mussels. Journal of the North American Benthological Society, 27(2): 409-423.
Washington H.G. (1984). Review of diversity, biotic and similarity indices. Water Research. 18(6): 653-694.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
Versions
- 15-02-2024 (2)
- 30-08-2021 (1)
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 วารสารเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื่อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการดีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่หรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรณ์จากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น