การประยุกต์ใช้เฟล็กซ์เซ็นเซอร์เพื่อควบคุมอุปกรณ์สำหรับช่วยเหลือผู้สูงอายุ
คำสำคัญ:
ไมโครคอนโทรลเลอร์, เฟล็กซ์เซ็นเซอร์ , อุปกรณ์ช่วยเหลือผู้สูงอายุบทคัดย่อ
สถิติประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทยปี 2564 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ซึ่งมีลักษณะการอาศัยอยู่คนเดียวตามลำพังในครัวเรือนเพิ่มขึ้น เมื่อพิจารณาความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน พบว่ามีผู้สูงอายุที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ รวมถึงผู้สูงอายุที่สามารถดูแลและช่วยเหลือตนเองได้บ้าง คิดเป็นร้อยละ 1.3 และ 1.8 ตามลำดับ ดังนั้นเพื่อช่วยเหลือผู้สูงอายุให้สามารถพึ่งพาตนเองภายในที่พักอาศัยได้ บทความนี้จึงเล็งเห็นการนำสิ่งประดิษฐ์โดยประยุกต์ใช้เฟล็กซ์เซ็นเซอร์ซึ่งติดตั้งที่บริเวณนิ้วมือ ในการตรวจจับการเคลื่อนไหวของนิ้วมือ สำหรับควบคุมรถเข็น หุ่นยนต์ขนาดเล็ก และอุปกรณ์ไฟฟ้า โดยการประมวลผลสัญญาณด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino R3 ผลทดสอบการควบคุมอุปกรณ์ด้วยนิ้วมือทั้ง 5 นิ้ว แบ่งเป็น 2 รูปแบบ คือ การควบคุมโดยการขยับทีละนิ้วและการควบคุมด้วยการขยับเป็นชุดรหัสนิ้วมือ การควบคุมรถเข็นจากทุกเหตุการณ์ แสดงให้เห็นความถูกต้องแม่นยำโดยมีค่าเฉลี่ยคิดเป็น 89.07% และ 87.47% ภายใต้สภาวะแวดล้อมภายในอาคาร และภายนอกอาคาร ตามลำดับ ความแม่นยำของการควบคุมหุ่นยนต์ขนาดเล็ก รวมถึงการควบคุมเปิดปิดหลอดไฟ คิดเป็น 83.20% และ 87.81% ตามลำดับ
References
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). การสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2564. ค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2565.
http://www.nso.go.th/sites/2014en/Survey/social/domographic/OlderPersons/2021/fullreport_64.pdf
เทพทวี ทองเต็มแก้ว, รุจิพรรณ สัมปันณา และวิชชากร เฮงศรีธวัช. (2564). การควบคุมรถเข็นผู้พิการด้วยการเคลื่อนไหวนิ้วมือร่วมกับคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ.ใน การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 44. 17-19 พฤศจิกายน 2564. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. น่าน. 736-739.
J. Andrés S.B., Mónica C.L., Miguel A.E., Olivia J.L.M., M. Andrea S.C. and José J.H.A. (2019). Design of a multifunctional electronic module adaptable to a motorized wheelchair for people with motor disabilities. In International Conference on Inclusive Technologies and Education. 30 October 2019 - 01 November 2019. San Jose del Cabo. Mexico. 201-2013.
Kollu J.L., Akshada M., A Venkata R. and Prakash K. (2020). Patient assistance using flex sensor. In International Conference on Communication and Signal Processing. 28-30 July 2020. Chennai. India. 00181-00185.
Krishnakumar S., Bethanney J.J., Sindu D., Aishwarya M.K., Sheryl R., Poojahsri S. and Prakash W.G. (2022). Designing of controlled wearable robot for the treatment of ankle injuries using flex sensors. In 5th International Conference on Multimedia, Signal Processing and Communication Technologies. 26-27 November 2022. Aligarh. India. 1-5.
R. Niranjana, M.A. Ibrahim, R. Ajay, V.B. Arunnachalam, R.S. Krishnan and K.L. Narayanan. (2022). Effectual gesture controlled smart wheelchair for the incapacitated. In 3rd International Conference on Smart Electronics and Communication. 20-22 October 2022. Trichy. India. 82-87.
Saifuddin M., Xiangxu L., Jong H.K., Hasib I., MD R.U.Z., Sakib R. and M Asifur R. (2019). A Multi-Modal human machine interface for iontrolling a smart wheelchair. In 7th Conference on Systems, Process and Control. 13-14 December 2019. Melaka. Malaysia. 10-13.
Shuo Z., Angus S. F., Ashraf F., Chunxu L. and Johann S. (2021). Development of a low-cost data glove using flex sensors for the robot hand teleoperation. In 3rd International Symposium on Robotics & Intelligent Manufacturing Technology. 24-26 September 2021. Changzhou. China. 47-51.
Xu C.Z., Yu Q.L., Ying Y. and Wen F.L. (2022). Motion control of a dexterous manipulator using data glove. In 8th International Conference on Mechanical Engineering and Automation Science. 14-16 October 2022. Wuhan. China. 138-142.
Zainab A., Taylor B., Matthew S., Ishfaq A., Manfred H. and Addison C. (2020). A Human-Computer interface for smart wheelchair control using forearm EMG signals. In 3rd International Conference on Data Intelligence and Security. 24-26 June 2020. South Padre Island. TX. USA. 34-39.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
Versions
- 19-02-2024 (2)
- 29-04-2023 (1)
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื่อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการดีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่หรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรณ์จากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น