การทดสอบสมรรถนะโซล่าเซลล์สำหรับสถานีเสาสัญญาณโทรศัพท์

ผู้แต่ง

  • ณัฐพงษ์ มิ่งพฤกษ์ คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
  • อดิศร นวลอ่อน คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
  • ปรัชญา บำรุงกุล คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จังหวัดสุรินทร์
  • ภัทรนันท์ บุญสะดวก คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จังหวัดสุรินทร์
  • อดิเทพ จันทับ คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จังหวัดสุรินทร์
  • พงษ์พันธ์ บุญสรรค์ คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จังหวัดสุรินทร์
  • สัตฏบงกช ยอดรักษ์ คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จังหวัดสุรินทร์

คำสำคัญ:

การทดสอบสมรรถนะโซล่าเซลล์, โซล่าเซลล์บนเสาสัญญาณ, ค่าสมรรถนะของระบบ

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอการทดสอบสมรรถนะโซล่าเซลล์สำหรับสถานีเสาสัญญาณโทรศัพท์ โดยการทดสอบวัดค่าพลังงานไฟฟ้า วัดคุณสมบัติทางไฟฟ้า และพลังงานขาออกที่แท้จริงของแผงโซล่าเซลล์ จากระบบโซล่าเซลล์ที่ทำการติดตั้งเพิ่มในสถานีเสาสัญญาณโทรศัพท์ของรูปแบบการติดตั้ง 2 รูปแบบคือ ติดตั้งแบบ 1 เสา 6 แผง กับ ติดตั้งบนเสาสัญญาณ (On Tower) อ่านค่าจากเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า นำค่าที่ได้มาคำนวณหาค่าสมรรถนะของระบบ (% PR Ratio) เพื่อทำการเปรียบเทียบสมรรถนะของระบบของทั้ง 2 รูปแบบ จากผลการวิจัยค่าประสิทธิภาพของระบบ ในรูปแบบติดตั้งบนเสาสัญญาณมีค่าที่ดีกว่า คือ 18.10 กับ 17.90 และค่าเฉลี่ยของค่าสมรรถนะของระบบ คือ 91.60 กับ 90.60

References

ปฐมธิติ์ ชัยเศรษฐพงศ์, พัฒนะ รักความสุข, กฤษณพงศ์ กีรติก และอุสาห์ บุญบำรุง. (2557). สมรรถนะ IEC 61724 ของ - ระบบผลิตไฟฟ้าแบบผสมผสาน โซล่าเซลล์-เครื่องยนต์ดีเซล ณ อุทยานแห่งชาติภูกระดึง. ใน การประชุมวิชาการแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 11. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน วันที่ 8 - 9 สิงหาคม 2557. นครปฐม. 206-212.

พันกร มนทอง. (2560). การสร้างเครื่องมือวัดพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อเก็บข้อมูลพลังงานแสงอาทิตย์ในจังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

สัตฏบงกช ยอดรักษ์, สุดารัตน์ ขันทอง และบารมี เจาะดี. (2564). การทดสอบสมรรถนะระบบผลิตไฟฟ้าสำหรับโซล่าเซลล์. ปริญญานิพนธ์ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาไฟฟ้า คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.

แสงชัยมิเตอร์. (2560). ทำความรู้จักแคล้มป์มิเตอร์. ค้นเมื่อ 23 พฤษภาคม 2565. http://www.sangchaimeter.com.

อิมเม้นซ์ คอร์ปอเรชั่น. (2562). แผงโซล่าเซลล์ คืออะไร. ค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2565. http://www.gump.in.th.

เอกพันธ์ ผัดศรี, คณภรณ์ ก้อนแก้ว และอัครินทร์ อินทนิเวศน์. (2561). การวิเคราะห์ประสิทธิภาพและสมรรถนะของระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบเชื่อมต่อกับสายส่งขนาด 300 kW. ใน การประชุมวิชาการครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา วันที่ 30 สิงหาคม 2561 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา. ชลบุรี. 95-104.

Energy Next. (2565). ความหมายของ Solar Cell. ค้นเมื่อ 24 พฤษภาคม 2565. http://www.energynext.co.th.

Nils Y.R., Bjoern m., Alfons A., Wilfriend G.S., Klaus K. and Christian R. (2012). Performance ratio revisited: is PR>90% realistic?. Progress in Photovoltaics Research and Applications. 20(6): 717-726.

Suntiti Y., Theerasak P. and Atthapol N. (2019). Performance and economic evaluation of solar rooftop systems in different regions of Thailand. Sustainability. 11(23): 6647.

Zainab U., Joseph T., Henry A. and Charles N. (2020). A Critical appraisal of PV-systems’ performance. Buildings. 10(11): 192.

เผยแพร่แล้ว

29-04-2023 — Updated on 19-02-2024

Versions