คุณภาพน้ำและความหลากหลายของโพรโทซัวในแม่น้ำจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี

ผู้แต่ง

  • วีระ ยินดี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี
  • วิทวัส เวชกูล คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี
  • นฤมล เวชกูล คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี
  • สิทธิ กุหลาบทอง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี
  • ดุสิต ศรีวิไล คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี
  • วัชนะชัย จูมผา โครงการจัดตั้งคณะวิศวกรรมศาสตร์บูรณาการและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี

คำสำคัญ:

โพรโทซัว, แม่น้ำจันทบุรี , จังหวัดจันทบุรี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพน้ำและความหลากหลายของโพรโทซัวในแม่น้ำจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี จำนวน 8 สถานี ได้แก่ บ้านจันทเขลม อ่างเก็บน้ำศาลทราย Bokies house วัดกะทิง ถนนสุขุมวิท วัดจันทราราม โรบินสันและร้านปั้นจิ้ม ในฤดูน้ำน้อย (เมษายน 2560) และฤดูน้ำหลาก (ตุลาคม 2559) โดยเก็บตัวอย่างโพรโทซัวด้วยถุงลากแพลงก์ตอน ขนาด 40 ไมโครเมตร ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 ถึง เมษายน พ.ศ. 2560 โดยศึกษาคุณภาพน้ำมีผลการศึกษาเป็นดังนี้ อุณหภูมิของน้ำมีค่าเฉลี่ยคือ 26.4±0.88C ความเป็นกรด-ด่าง มีค่าเฉลี่ย 6.83±0.92 ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำมีค่าเฉลี่ยคือ 8.15±3.44 มิลลิกรัมต่อลิตร พบ โพรโทซัวทั้งหมด 2 คลาส 6 สกุล 17 ชนิด ดัชนีความหลากหลาย Shannon-Weiner Index (H') ฤดูน้ำหลากเท่ากับ 2.55 ส่วนฤดูน้ำน้อยเท่ากับ 2.73 และค่าดัชนีความสม่ำเสมอ (Evenness index) ทั้งสองฤดูในการพบโพรโทซัวไม่แตกต่างกัน โดยฤดูน้ำหลากเท่ากับ 0.15 ส่วนฤดูน้ำน้อยเท่ากับ 0.16

References

กรมควบคุมมลพิษ. (2538). พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ. กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสำนักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม: กรุงเทพฯ.

กรมควบคุมมลพิษ. (2546). รายงานสถานการณ์มลพิษทางน้ำ 2546. สำนักจัดการคุณภาพน้ำ กรมควบคุมมลพิษ: กรุงเทพฯ. คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ. (2537). เรื่องการกำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำจืดผิวดิน ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ: กรุงเทพฯ.

โฉมยงค์ ไชยอุบล. (2541). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพน้ำกับการกระจายของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ในอ่างเก็บน้ำอ่างแก้ว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ชนวรรณ โทวรรณา, บัณฑิตา สวัสดี และจุฑารัตน์ แก่นจันทร์. (2560). ความหลากหลายของแพลงก์ตอนสัตว์ในลำน้ำเสียว ในเขตจังหวัดมหาสารคาม. รายงานการวิจัย. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคา มหาสารคาม.

ธนาทิพย์ แหลมคม และวิชาญ แก้วเลื่อน. (2543). การศึกษาความหลากหลายของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ในพื้นที่อ่างเก็บน้ำของเขื่อนปากมูล. ใน การประชุมทางวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 39 สาขาประมง. 5-7 กุมภาพันธ์ 2544 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. 70-79.

นันทพร จารุพันธุ์. (2547). โพรโทซัวและจุลชีพสัตว์ในน้ำจืด. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์: กรุงเทพฯ.

นันทพร จารุพันธุ์ และบพิธ จารุพันธุ์. (2542). การสำรวจโปรโตซัวน้ำจืดในประเทศไทย. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.

บพิธ จารุพันธุ์. (2545). สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง โพรโทซัวถึงทาร์ดิกราดา. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์: กรุงเทพฯ.

บพิธ จารุพันธุ์. (2546). โพรโทซัววิทยา. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์: กรุงเทพฯ.

บพิธ จารุพันธุ์ และนันทพร จารุพันธุ์. (2538). สัตววิทยา Zoology. รุ่งวัฒนาการพิมพ์: กรุงเทพฯ.

บพิธ จารุพันธุ์ และนันทพรจารุพันธุ์. (2539). โปรโตซัวในแหล่งน้ำจืด. ห้างหุ้นส่วนจํากัดพันนีพับบลิชชิ่ง: กรุงเทพฯ.

บพิธ จารุพันธุ์ และนันทพร จารุพันธุ์. (2542). การสํารวจโปรโตซัวน้ำจืดในประเทศไทย. รายงานการวิจัย. คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ.

บพิธ จารุพันธุ์ และนันทพร จารุพันธุ์. (2549). โพรโทซัวในแหล่งน้ำจืด. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์: กรุงเทพฯ.

พินิจ หวังสมนึก, ภูวฎณ กรพันธุ์ และสมพงษ์ ดุลย์จินดาชบาพร. (2547). ความหลากหลายของโปรโตซัวในแม่น้ำพอง จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิทยาศาสตร์ มข. 32(1): 53-69.

พินิจ หวังสมนึก และวรุณยุภา เย็นเฉื่อย. (2550). ความหลากหลายของโพรโทซัวในบ่อบําบัดน้ำเสียแบบชีวภาพของโรงงานน้ำตาลมิตรภูเวียง. วารสารวิทยาศาสตร์ มข. 35(4): 264-276.

เพชรี ประสานบุญ, สุรินทร์ เมตรฉาชีพ และพรกฤษณ์ ดำรงโรจน์วัฒนา. (2548). การศึกษาโพรโทซัวในเขื่อนคลอง-ท่าด่าน จังหวัดนครนายก. ค้นเมื่อ 16 กันยายน 2565. http://kucon.lib.ku.ac.th/FullText/KC4505070.pdf.

ภูวฎณ กรพันธ์. (2546). ความหลากหลายของโพรโทซัวในแม่น้ำพอง จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

มนตรี ประเสริฐฤทธิ์. (2551). การกระจายตัวและความหลากชนิดของโพรโทซัวและสัตว์น้ำขนาดเล็กในคลองสมถวิลเทศบาลเมืองมหาสารคาม. โรงเรียนบางกะปิ: กรุงเทพฯ.

ยุวรัตน์ ปรมีศนาภรณ์. (2551). ปัจจัยทางเคมี–กายภาพของระบบนิเวศน้ำจืดที่สัมพันธ์กับความหลากชนิดของโปรโตซัวตามฤดูกาลกรณีศึกษาในแม่น้ำเจ้าพระยา เขตจังหวัดนนทบุรี. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. วารสารวิจัย มสด สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 3(1): 21–34.

ลัดดา วงศ์รัตน์. (2547). แพลงก์ตอนสัตว์. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์: กรุงเทพฯ.

ลัดดา วงศ์รัตน์ และโสภณา บุญญาภิวัฒน์. (2546). คู่มือวิธีการเก็บและวิเคราะห์แพลงก์ตอน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.

วรรณดา พิพัฒน์เจริญชัย. (2544). ความหลากหลายของแพลงก์ตอนสัตว์ในจังหวัดกาญจนบุรี. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ศิริเพ็ญ สุภัทราวิวัฒน์. (2552). สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังชั้นต่ำ. โอเดียนสโตร์: กรุงเทพฯ.

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด. (2530). เกณฑ์คุณภาพน้ำเพื่อการคุ้มครองทรัพยากรสัตว์น้ำจืด. เอกสารวิชาการ. ฉบับที่ 75.

สุขสรรค์ ชูบุญ. (2548). ความสัมพันธ์ของโปรโตซัวและคุณภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำอ่างแก้วและห้วยตึงเฒ่า จังหวัดเชียงใหม่.วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อินทิรา ปรุงเกียรติ. (2541). ความหลากหลายของโปรโตซัวและคุณภาพน้ำในคลองแม่ข่า จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Charubhan B. and Charubhan N. (2000). Biodiversity of Freshwater Protozoa in Thailand. Kasetsart Journal (Natural Science). 34: 486-494.

Environmental Protection Agency. (1973). Water Quality Criteria, 1972. A Report of the Committee on Quality Criteria, Environmental Studies Board, U.S. Government Printing Office: Washington D.C.

Farmer J.N. (1980). The Protozoa: Introduction to Protozoology. 1st Edition. The C. V. Mosby Company: St. Louis.

Grell K.G. (1973). Protozoology. Toppen Printing Co.(S) Pte. Ltd., Singapore.

Kudo R.R. (1966). Protozoology 5th Edited. Charles C. Thomas Publisher, Springfield, Illinois.

Jithlang I. and Wongrat L. (2006). Composition and distribution of zooplankton in the Pasak Jolasid Reservoir, Lop Buri Province. Kasetsart University Fisheries Research Bulletin. 30: 1-18.

Nolan A.K. and Callahan E.J. (2006). Beachcomber Biology: The Shannon-Weiner Species Diversity Index. 367 ABLE 2005 Proceedings. Blacksburg, Virginia. 334-338.

Peerapornpisal Y., Chaiubol C., Pekkoh J., Kraibut H., Chorum M., Wannathong P., Ngearnpat N., Jusakul K., Thammathiwat A., Chuanunta J. and Inthasotti T. (2004). Monitoring of water quality in Ang Kaew reservoir of Chiang Mai University using phytoplankton as bioindicator from 1995-2002. Chiang Mai Journal of Science. 31(1): 85-94.

Shannon C.E. (1948). A mathematical theory of communication. The Bell System Technical Journal. 27(3): 379-423.

Suther L.M. and Rissik D. (2011). Plankton. Csiro Publishing. Australia.

Wongrat L. and Pipatcharoenchai W. (2003). Zooplankton of Kanchanaburi Province. Kasetsart University Fisheries Research Bulletin. 25: 8-29.

เผยแพร่แล้ว

26-04-2024