การประเมินลักษณะประจำพันธุ์ข้าวพื้นเมือง ในเขตอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตอนกลาง
คำสำคัญ:
ข้าวพันธุ์พื้นเมือง, ลักษณะสันฐานวิทยา, ภูมิภาคลุ่มน้ำโขงบทคัดย่อ
ข้าวเป็นพืชที่มีความสำคัญ โดยเกษตรกรนิยมใช้พันธุ์ข้าวที่ได้รับการปรับปรุงพันธุ์แล้ว ซึ่งส่งผลให้พันธุ์ข้าวพื้นเมืองค่อย ๆ หายไป ซึ่งข้าวพันธุ์พื้นเมืองเป็นแหล่งเชื้อพันธุกรรมที่มีศักยภาพในการปรับปรุงพันธุ์ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมเชื้อพันธุกรรมข้าวพื้นเมืองในเขตอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงตอนกลางและประเมินลักษณะทางสัณฐานวิทยา โดยทำการเก็บรวบรวมเชื้อพันธุกรรมข้าว 7 พันธุ์จาก 4 จังหวัดของประเทศไทย ได้แก่ จังหวัดนครพนม บึงกาฬ มุกดาหาร และหนองคาย และใน 2 จังหวัดของประเทศลาว ได้แก่ จังหวัดคำม่วน และเชียงขวาง โดยมี กข6 (ข้าวเหนียว) และขาวดอกมะลิ 105 (ข้าวเจ้า) เป็นพันธุ์เปรียบเทียบ ทำการบันทึกข้อมูลลักษณะสัณฐานวิทยาทั้งหมด 24 ลักษณะ ใน 3 ระยะ ได้แก่ ระยะแตกกอเต็มที่ ระยะออกรวงร้อยละ 50 และระยะออกรวงแล้ว 20-25 วัน ผลศึกษาพบว่า ข้าวพันธุ์พื้นเมืองทั้ง 7 พันธุ์ มีสัณฐานวิทยาแตกต่างกันอย่างชัดเจนเกือบทุกลักษณะ ยกเว้น ทรงกอและการแตกระแง้ ซึ่งมีเพียงรูปแบบเดียว มีข้าว 3 พันธุ์ที่มีลักษณะใบเป็นสีม่วงซึ่งเป็นลักษณะที่บ่งบอกถึงการมีสารแอนโทไซยานิน ได้แก่ ข้าวหอมนิล ข้าวเหนียวดำ และข้าวเหนียวก่ำไร่ และมีข้าว 3 พันธุ์ที่มีลักษณะขนที่แผ่นใบซึ่งเป็นลักษณะที่ช่วยลดการ ได้แก่ ข้าวเจ้าแดง ข้าวเหนียวหอม และข้าวเหนียวก่ำไร่ และพันธุ์ไก่น้อยมีความยาวของใบธงและจำนวนเมล็ดต่อต้นสูงซึ่งเป็นลักษณะที่มีความสัมพันธ์กับผลผลิต ข้อมูลสัณฐานวิทยาเหล่านี้อาจนำไปใช้ประโยชน์ในการคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์สำหรับการปรับปรุงพันธุ์ข้าวในอนาคต
References
กรมการข้าว. (2558). แผนยุทธศาสตร์ข้าวไทย (ด้านการผลิต) ฉบับที่ 3 ปี 2558 - 2562. กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์: กรุงเทพฯ.
ชยุต ศรีฮาก์ณู, จิรวัฒน์ สนิทชน และช่อแก้ว อนิลบล. (2563). การประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของเชื้อ พันธุกรรมข้าวพื้นเมือง โดยใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยาและเครื่องหมายโมเลกุลชนิด SSR. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 37: 479-488.
ช่อแก้ว อนิลบล, ปรเมศ บรรเทิง, จิรวัฒน์ สนิทชน และพัชริน ส่งศรี. (2554). การศึกษาปริมาณแอนโทไซยานินในข้าวเหนียวดำโดยใช้ วิธี HPLC และ Spectrophotometric. วารสารแก่นเกษตร. 39(ฉบับพิเศษ): 353-357.
ดำเนิน กาละดี และศันสนีย์ จำจด. (2543). พันธุศาสตร์การปรับปรุงพันธุ์ และโภชนศาสตร์เกษตรของข้าวเหนียวดำ. รายงาน การวิจัย. สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่.
พัชรี ตั้งตระกูล. (2555). การแปรรูปข้าวเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม. ใน การประชุมวิชาการ ข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ 2 มิติใหม่วิจัยข้าวไทยพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและการเปิดตลาดเสรีอาเซียน 21-23 ธันวาคม 2555. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กรุงเทพฯ. 67.
ไพฑูรย์ มีกุศล. (2559). ประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 3: 1-32. วชิระ จิระรัตนรังสี และปิยะพร บุตรพรหม. (2560). ผลของกระบวนการแปรรูปที่แตกต่างกันต่อปริมาณสารประกอบฟีนอลิก ปริมาณแอนโธไซยานิน ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ และการยอมรับจากผู้บริโภคของผลิตภัณฑ์ชาใบข้าวก่ำ. วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 9: 91-103.
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2561). ยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) และแผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564). สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์: กรุงเทพฯ.
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2563). สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปี 2563. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์: กรุงเทพฯ.
อรอนงค์ นัยวิกุล. (2550). ข้าว: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์: กรุงเทพฯ.
Akinwale M.G., Gregorio G., Nwilene F., Akinyele B.O., Ogunbayo S.A. and Odiyi A.C. (2011). Heritability and correlation coefficient analysis for yield and its components in rice (Oryza sativa L.). African Journal of Plant Science. 5(3): 207-212.
Ayad W.G., Hodgkin T., Jaradat A. and Rao V.R. (1997). Molecular genetic techniques for plant genetic resources: Report of an IPGRI Workshop, 9-11 October 1995. International Plant Genetic Resources Institute: Rome.
Augustina U.A., Iwunor O.P. and Ijeoma O.R. (2013). Heritability and character correlation among some rice genotypes for yield and yield components. Journal of Plant Breeding and Genetics. 1(2): 73-84.
Dakshayani K., Bentur J.S. and Kalode M.B. (1993). Nature of resistance in rice varieties against leaf folder Cnaphalocrocis medinalis (Guenée). International Journal of Tropical Insect Science. 14: 107-114.
Doroshkov A.V., Afonnikov D.A., Dobrovolskaya O.B. and Pshenichnikova T.A. (2016). Interactions between leaf pubescence genes in bread wheat as assessed by high throughput phenotyping. Euphytica. 207: 491-500.
Gravois K.A. and McNew R.W. (1993). Genetic relationships among and selection for rice yield and yield components. Crop Science. 33(2): 249-252.
Hamaoka N., Yasui H., Yamagata Y., Inoue Y., Furuya N., Araki T., Ueno O. and Yoshimura A. (2017). A hairy-leaf gene, BLANKET LEAF, of wild Oryza nivara increases photosynthetic water use efficiency in rice. Rice. 10: 1-11.
IBPGR-IRRI Rice Advisory Committee. (1980). Descriptors for Rice, Oryza sativa L. The International Rice Research Institute: Manila.
SAS Institute Inc. (2021). JMP® 16 Documentation Library. SAS Institute Inc.: NC.
Lucioli S. (2012). Anthocyanins: Mechanism of action and therapeutic efficacy. In Capasso A., Editor. Medicinal Plants as Antioxidant Agents: Understanding Their Mechanism of Action and Therapeutic Efficacy. Research Signpost: Kerala. 27-57.
Mahesh G., Chandra M.Y., Saida N.D. and Narender R.S. (2022). Study on flag leaf and its penultimate leaves for their association with grain yield in rice (Oryza sativa L.). Biological Forum - An International Journal. 14(2): 270-274.
Mulumba J.W., Nankya R., Adokorach J., Kiwuka C., Fadda C., De Santis P. and Jarvis D.I. (2012). A risk-minimizing argument for traditional crop varietal diversity use to reduce pest and disease damage in agricultural ecosystems of Uganda. Agriculture, Ecosystems & Environment. 157: 70-86.
Papp M., Kolarov J. and Mesterhazy A. (1992). Relation between pubescence of seedling and flag leaves of winter wheat and its significance in breeding resistance to cereal leaf beetle (Coleoptera: Chrysomelidae). Environmental Entomology. 21: 700-705.
Pshenichnikova T.A., Doroshkov A.V., Osipova S.V., Permyakov A.V., Permyakova M.D., Efimov V.M., and Afonnikov D.A. (2019). Quantitative characteristics of pubescence in wheat (Triticum aestivum L.) are associated with photosynthetic parameters under conditions of normal and limited water supply. Planta. 249: 839-847.
Russell G.E. (1978). Plant Breeding for Pest and Disease Resistance: Studies in the Agricultural and Food Sciences. Butterworth-Heinemann: London.
Viz J.A. and Pacada I.G. (2022). Density, orientation, and distribution of foliar trichomes in selected Philippine traditional rice varieties with resistance to Scirpophaga spp. Philippine Journal of Science. 151: 1737-1745.
Wang Y., Wang Y., Sun X., Caiji Z., Yang J., Cui D., Cao G., Ma X., Han B., Xue D. and Han L. (2016). Influence of ethnic traditional cultures on genetic diversity of rice landraces under on-farm conservation in southwest China. Journal of Ethnobiology and Ethnomedicine. 12: 1-14.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื่อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการดีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่หรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรณ์จากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น