ลักษณะสัณฐานวิทยาของใบมะม่วง 20 สายพันธุ์

Main Article Content

อรพินธุ์ สฤษดิ์นำ
วรรณอุษา ผาคำ

บทคัดย่อ

     การศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของใบมะม่วง 20 สายพันธุ์ (พันธุ์ละ 3 ต้น) ณ แปลงรวบรวม พันธุ์มะม่วงสาขาไม้ผล (บ้านโปง) มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ จากผลการศึกษา พบว่า ลักษณะภายนอกของใบมะม่วงคือ ลักษณะรูปร่างของใบ ปลายใบ ฐานใบ และลักษณะของขอบใบ ถูกนำมาใช้ในการเปรียบเทียบสายพันธุ์มะม่วงโดยสามารถจัดจำแนกลักษณะของใบได้ 6 กลุ่มพันธุ์ คือ 1) กลุ่มแก้ว 2) กลุ่มเขียวเสวย 3) กลุ่มน้ำดอกไม้ 4) กลุ่มหนังกลางวัน 5) กลุ่มอกร่อง และ 6) กลุ่มผลกลม ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของใบจะเป็นประโยชน์ในการคัดเลือกสายพันธุ์มะม่วง สำหรับงานทางด้านการปรับปรุงพันธุ์พืชต่อไปในอนาคต

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ประเสริฐ ศรีสาธร. 2548. คู่มือการทำสวนมะม่วง. อักษรสยามการพิมพ์, กรุงเทพมหานคร.

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์. 2560. อันดับการส่งออกมะม่วงจากไทย. แหล่งข้อมูล https://tradereport.moc.go.th/TradeThai.aspx (06 ธันวาคม 2562).

ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว. 2556. มะม่วง การผลิตและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว. ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, เชียงใหม่.

สำนักคุ้มครองพันธุ์พืชแห่งชาติ. 2547. ฐานข้อมูลเชื้อพันธุ์พืช : มะม่วง เล่ม 2. ฝ่ายคุ้มครองพันธุ์พืช กองคุ้มครองพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพมหานคร.

สุรินทร์ ปิยะโชคณากุล. 2552. เครื่องหมายดีเอ็นเอ : จากพื้นฐานสู่การประยุกต์. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.

อรรัตน์ มงคลพร. 2548. เครื่องหมายโมเลกุลเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช. จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์, กรุงเทพมหานคร.

Khan, A., A. Sajid and K. Iqrar. 2015. Morphological and molecular characterization and evaluation of mango germplasm: An overview. Scientia Horticulturae. 194: 353-366.

Kheshin, M.A.E., H.A. Sayed and A.M.A. Allatif. 2016. Morphological and Molecular Analysis of Genetic Diversity among Some ‘Sukkary’ Mango (Mangifera indica L.) Genotypes. Journal of Horticultural Science & Ornamental Plants. 8(1): 01-10.

Kit, Y. and S. Chandran. 2010. A simple, rapid and efficient method of isolating DNA from Chokanan mango (Mangifera indica L.). African Journal of Biotechnology. 9: 36.