ผลของธาตุเหล็ก ผงถ่านกัมมันต์ และวุ้น ต่อการเกิดใบเหลือง และการเจริญเติบโตของปทุมมาลูกผสมสายพันธุ์สีม่วง (Violet) ที่เพาะเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาผลของธาตุเหล็ก ผงถ่านกัมมันต์ และวุ้น ต่อการเกิดใบเหลือง และการเจริญเติบโต ของปทุมมาลูกผสมสายพันธุ์สีม่วง (Violet) ในสภาพปลอดเชื้อ โดยเพาะเลี้ยงต้นปทุมมาบนอาหารสังเคราะห์ สูตร MS ที่ประกอบด้วย น้ำตาลซูโครส 3% ผงถ่านกัมมันต์ เหล็ก และวุ้นในระดับต่าง ๆ พบว่า ความเข้มข้นของธาตุเหล็ก ผงถ่านกัมมันต์ และระดับความเข้มข้นของวุ้น มีผลต่อการเกิดใบเหลืองและการเจริญเติบโตของปทุมมาที่แตกต่างกัน การใช้ธาตุเหล็ก 1 เท่า (2.78 g L-1) ร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ 0.2% และวุ้น 2.8 g L-1 ในการเพาะเลี้ยงปทุมมาสายพันธุ์สีม่วง (Violet) ทำให้มีระดับความเหลืองของใบน้อยที่สุด และมีการเจริญเติบโตดี
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กรณ์ กรภัทร์ชัยกุล. 2558. การขยายพันธุ์ขมิ้นชัน (Curcuma Longa L.) ด้วยตายอดจากเหง้าอ่อน. วารสารวิทยาศาสตร์ มศว 31(1): 175-188.
กรณ์ กรภัทร์ชัยกุล ศักดิ์ชัย กรรมารางกูร และจีรนันท์ กล่อมนรา แก้วรักษา. 2560. การเกิดต้นจากการเพาะเลี้ยงแคลลัสของขมิ้นชันในหลอดทดลอง. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา 22: 1-13.
เกษตรชูไทย. ม.ป.ป. เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (ออนไลน์). แหล่งข้อมูล https://sites.google.com/site/kasetchoothai/karkestr/-tissueculture/-thekhnikh-kar-leiyng-neuxyeuxphuch (21 สิงหาคม 2562).
ชลธิชา ใจมาแก้ว ศิวาพร ธรรมดี และจามจุรี โสตถิกุล. 2558. ผลของน้ำตาลซูโครส ถ่านกัมมันต์ และระยะเวลาการให้แสงต่อการสร้างเหง้าของขิงในสภาพปลอดเชื้อ. วารสารเกษตร 32(1): 9-17.
เทคโนโลยีชีวภาพและพันธุกรรม. 2554. อาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (ออนไลน์). แหล่งข้อมูล https://vittayasat.blogspot.com/2011/07/blogpost_4478.html?fbclid=IwAR2kqu4e3jjNf5i36QErsEx0VvCXCD4Pb3E9XAiZh2dJmCca5KrCZmTct4 (9 พฤศจิกายน 2562).
บุญยืน กิจวิจารณ์. 2544. เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. พิมพ์ครั้งที่ 2. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
ประสาทพร สมิตะมาน. 2541. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ: เทคนิคและการประยุกต์ใช้. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
รังสฤษฏ์ กาวีต๊ะ. 2545. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
รัฐภัทร์ ประดิษฐ์สรรพ์ กาญจนรี พงษ์ฉวี และวรรณดา พิพัฒน์เจริญชัย. 2553. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อรากดำใบยาว Microsorium pteropus (Blume) Ching, 1933. สถาบันวิจัยสัตว์น้ำสวยงามและพรรณไม้น้ำ.
อนุพันธ์ กงบังเกิด และวีระชน ยานะฝั่น. 2548. ผลของแสง น้ำตาล และสารชะลอการเจริญเติบโตต่อการชักนำให้เกิดเหง้าจิ๋วของขมิ้นชันในหลอดทดลอง. NU Science Journal 2(1): 73-86.
อรุณี ม่วงแก้วงาม. 2559. การขยายพันธุ์ดาหลาขาวด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. ว.พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 3(ฉบับพิเศษ 2): 8-11.
Chae, W.B., G.W. Choi and I.S. Chung. 2004. Plant Regeneration Depending on Explant Type in Chrysanthemum coronarium L. J. Plant Biotechnol. 6(4): 253-258.
Lebedev, V., M. Arkaev, M. Dremova, I. Pozdniakov, and K. Shestibratov. 2018. Effects of Growth Regulators and Gelling Agents on Ex Vitro Rooting of Raspberry. Pushchino: Russia.
Murashige, T. and F. Skoog. 1962. A revised medium for rapid growth and bio-rassays with Tobacco tissue culture. Physiology Plant. 15: 473-474.
Vadim L., M. Arkaev, M. Dremova, I. Pozdniakov, and K. Shestibratov. 2019. Effects of Growth Regulators and Gelling Agents on Ex Vitro Rooting of Raspberry. Plants. 8(3).
Wu, J.-H., S.A. Miller, H.K. Hall and P.A. Mooney. 2009. Factors affecting the eficiency of micropropagation from lateral buds and shoot tips of Rubus. J. 8(3): 1-10.