Announcements

จริยธรรมการทำวิจัยในคน และที่เกี่ยวข้องกับคน

ปัจจุบันการศึกษาวิจัยหรือการทดลองในคนทำให้เกิดความเจริญก้าวหน้าทางด้านการแพทย์ เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับโรคระบาดวิทยา กาเกิดโรค พยาธิสรีรวิทยาของโรค การวินิจฉัย การป้องกันการรักษา เพื่อยืนยันประสิทธิภาพ (efficacy) และความปลอดภัย (safety) ของยาหรือวิธีการ ทำให้พัฒนาวิธีการตรวจวินิจฉัย การป้องกัน รักษาโรคและการดูแลสุขภาพให้ก้าวหน้าขึ้น ที่เข้าใจว่ามีความเสี่ยงน้อยต่อร่างกายของอาสาสมัครในการวิจัยนั้น แต่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อจิตใจ สถานะทางสังคม ฐานะทางการเงินการงาน และอันตรายทางกฎหมาย

การทำวิจัยในคนควรยึดหลักจริยธรรมการทำวิจัยที่เป็นหลักสากลและใช้หลักจริยธรรมพื้นฐาน เพื่อให้มั่นใจว่ามีการคุ้มครองอาสาสมัครในการวิจัยอย่างเหมาะสมการทำวิจัยที่เป็นไปตามหลัก
จริยธรรมพื้นฐานประกอบด้วยหลัก 3 ประการ ได้แก่
1. หลักความเคารพในบุคคล (Respect for person)
2. หลักคุณประโยชน์ ไม่ก่ออันตราย (Beneficence and Non-maleficence)
3. หลักความยุติธรรม (Justice)

**ดังนั้นผู้วิจัยควรคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัยในมนุษในบทความที่ดำเนินการส่งเข้ามาบทความ เพื่อให้เกิดการสร้างความมั่นใจ และมีความน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น
***โปรดระบุเลขจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ที่วิธีการทดลอง

  • แจ้งเปลี่ยนชื่อวารสาร และเลข ISSN, E-ISSN

    2023-10-19

    เนื่องด้วย “วารสารนเรศวรพะเยา” เลข ISSN: 1906-2141, E-ISSN: 2697-4401 เปลี่ยนชื่อเป็น

    “Health Science, Science and Technology Reviews” เลข ISSN: 2985-153x, E-ISSN: 2985-1521

    โดยมีกำหนดการตีพิมพ์ต่อเนื่องจากวารสารนเรศวรพะเยาใน ปีที่ 16 ฉบับที่ 1  มกราคม – เมษายน 2566 เป็นต้นไป

    Read more about แจ้งเปลี่ยนชื่อวารสาร และเลข ISSN, E-ISSN
  • จริยธรรมการทำวิจัย และที่เกี่ยวข้องกับคน และสัตว์

    2023-10-10

    ปัจจุบันการศึกษาวิจัยหรือการทดลองในคนทำให้เกิดความเจริญก้าวหน้าทางด้านการแพทย์ เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับโรคระบาดวิทยา กาเกิดโรค พยาธิสรีรวิทยาของโรค การวินิจฉัย การป้องกันการรักษา เพื่อยืนยันประสิทธิภาพ (efficacy) และความปลอดภัย (safety) ของยาหรือวิธีการ ทำให้พัฒนาวิธีการตรวจวินิจฉัย การป้องกัน รักษาโรคและการดูแลสุขภาพให้ก้าวหน้าขึ้น ที่เข้าใจว่ามีความเสี่ยงน้อยต่อร่างกายของอาสาสมัครในการวิจัยนั้น แต่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อจิตใจ สถานะทางสังคม ฐานะทางการเงินการงาน และอันตรายทางกฎหมาย

    การทำวิจัยในคนควรยึดหลักจริยธรรมการทำวิจัยที่เป็นหลักสากลและใช้หลักจริยธรรมพื้นฐาน เพื่อให้มั่นใจว่ามีการคุ้มครองอาสาสมัครในการวิจัยอย่างเหมาะสมการทำวิจัยที่เป็นไปตามหลัก
    จริยธรรมพื้นฐานประกอบด้วยหลัก 3 ประการ ได้แก่
    1. หลักความเคารพในบุคคล (Respect for person)
    2. หลักคุณประโยชน์ ไม่ก่ออันตราย (Beneficence and Non-maleficence)
    3. หลักความยุติธรรม (Justice)

    **ดังนั้นผู้วิจัยควรคำนึงถึงจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์หรือสัตว์ในบทความที่ดำเนินการส่งเข้ามาบทความ เพื่อให้เกิดการสร้างความมั่นใจ และมีความน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น
    ***โปรดระบุเลขจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์หรือสัตว์ที่วิธีการทดลอง

    Read more about จริยธรรมการทำวิจัย และที่เกี่ยวข้องกับคน และสัตว์