เครื่องทำนายคุณภาพของกล้วยไทยจากวิสัยทัศน์คอมพิวเตอร์

Main Article Content

วิฑูรย์ พรมมี
อนันตพงศ์ ไชยวุฒิ
ธเนศ นันทะเสน

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเครื่องทำนายคุณภาพของกล้วยไทยจากวิสัยทัศน์คอมพิวเตอร์ แสดงค่าของคุณภาพสีของกล้วยในระบบสี CIE-L*a*b* ( Commission International de l’Eclairage) โดยวิธีแปลงค่าจากระบบสี RGB ทำการทดสอบกล้วย 3 ชนิด ได้แก่ กล้วยหอม กล้วยไข่ และกล้วยน้ำว้า จากผลทดสอบพบว่า ค่าสี L* และ b* ของกล้วยทั้ง 3 ชนิดสามารถบอกคุณภาพของกล้วยสุก เพราะค่า L* แทนความสว่างของสี และ ค่า b* แทนค่าสีตั้งแต่สีเหลือง ไปจนถึงสีน้ำเงิน ส่วนค่า a* แทนค่าสีตั้งแต่ สีแดงถึงสีเขียว ค่า a* ใช้บงชี้การเปลี่ยนสีจากกล้วยดิบไปจนถึงกล้วยสุก จากสีเขียวของกล้วยดิบไปสีเหลืองของกล้วยสุก ซึ่งกล้วยแต่ละชนิดมีเวลาสุกที่ต่างกันทำให้ทราบวงจรการสุกของกล้วย เป็นประโยชน์กับการผู้ส่งออกทำการวางแผนส่งออกกล้วยให้เหมาะสมกับระยะเวลาวงจรการสุกของกล้วยให้เหมาะสมเพื่อแก้ปัญหากล้วยสุกก่อนถึงมือลูกค้า

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1].กรมวิชาการเกษตร 2017 “ยุทธศาสตร์การพัฒนางานวิจัยกล้วย พ.ศ. 2559 – 2563” แหล่งที่มาwww.doa.go.th/hortold/images/stories/strategyplanthort/strategybanana.doc [สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2561]
[2].ประชาชาติธุรกิจ 2018 “กล้วยไทยนิยมทั่วโลก ก.เกษตรส่งเสริมเพิ่มพื้นที่ปลูก”แหล่งที่มา https://www.prachachat.net/economy/news-44949 [สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2561]






[3] M. Nadafzadeh, M. Soltanikazemi and S. Abdanan 2018 “Development of computer vision system to predict peroxidase and polyphenol oxidase enzymes to evaluate the process of banana peel browning using genetic programming modeling” Scientia Horticulturae, Volume 231,Pages 201-209
[4]. I.Markovi, J. Illic, D. Markovic, V. Simonvic, and
Nonoceanic 2013 “Color measurement of food products using CIE L*a*b and RGB color space” Journal of Hygienic Engineering and Design 2013 pp.50-53.
[5]. V. Eyarkai Nambi , K. Thangavel, S. Shahir and V. Geetha 2015 “Evaluation of colour behavior during ripening of Banganapalli mango using CIE-Lab and RGB colour coordinates” Journal of Applied Horticulture, 2015, volume 17, issue 3, pages 205-209
[6]. Bergesen, Joseph D. Tahkamo, Leena Gibon,Thomas Suh, Sangwon 2016 “Potential Long-Term Global Environmental Implications of Efficient Light-Source Technologies" Journal of Industrial Ecology. Pages 20
[7]. บริษัท อิเล็กทรอนิกส์ แอลอีดี, Ltd 2017“เทคโนโลยี
แสง แหล่งกำเนิดแสง แอลอีดี และกาประยุกต์ใชแสงสว่าง แหล่งที่มา https://th.dLEDlite.com
/info/LED-lightsource-lighting-technology-and-light-.html [สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2561]
[8]. นายเจริญชัย เหลืองอ่อน, 2010 “การวัดสีด้วยเทคนิค UV-VIS-NIR SPECTROPHOTOMETRY” แหล่งเข้าถึง M T E C เมษายน – มิถุนายน 2010 [สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2561]
[9] R.E.Larraín, D.M.Schaefer and J.D.Reed, 2008 “Use of digital images to estimate CIE color coordinates of beef” Food Research