แบบจำลองสำหรับประมาณค่ารังสีรวมของดวงอาทิตย์จากอุณหภูมิอากาศแวดล้อมสำหรับ ประเทศไทย

Main Article Content

เสริม จันทร์ฉาย
เพ็ญพร นิ่มนวล

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้ทำการพัฒนาแบบจำลองสำหรับประมาณค่ารังสีรวมรายวันเฉลี่ยต่อเดือน (\inline \bar{H}) จากค่าความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิอากาศแวดล้อมสูงสุดและตํ่าสุดรายวันเฉลี่ยต่อเดือน (\Delta T) ในการพัฒนาแบบจำลองดังกล่าวจะเริ่มจากการรวบรวมข้อมูลรังสีรวมรายวันและค่าสูงสุดและตํ่าสุดของอุณหภูมิอากาศแวดล้อมรายวันจากสถานีอุตุนิยมวิทยาจำนวน 28 แห่งในประเทศไทย จากนั้นจะทำการคำนวณค่ารายวันเฉลี่ยต่อเดือนของรังสีรวมรายวัน (\inline \bar{H}) และค่ารายวันเฉลี่ยต่อเดือนของความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิอากาศรายวันสูงสุดและตํ่าสุด ( ) พร้อมทั้งคำนวณค่ารายวันเฉลี่ยต่อเดือนของรังสีดวงอาทิตย์นอกบรรยากาศโลก (\inline \bar{H}0) ในลำดับถัดไปผู้วิจัยจะเขียนกราฟระหว่าง \inline \bar{H}/\inline \bar{H}0 กับ ผลที่ได้พบว่ากราฟของสถานีส่วนใหญ่แสดงให้เห็นความสัมพันธ์อย่างเป็นระบบของ \inline \bar{H}/\inline \bar{H}0 กับ \Delta T และมีสถานีจำนวนเล็กน้อยที่ไม่เห็นความสัมพันธ์อย่างเป็นระบบ ผู้วิจัยได้สร้างสมการของแบบจำลองที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง \inline \bar{H}/\inline \bar{H}0กับ ของสถานีที่เห็นความสัมพันธ์ของตัวแปรทั้งสองอย่างเป็นระบบ ในการทดสอบสมรรถนะของแบบจำลอง ผู้วิจัยได้นำแบบจำลองของแต่ละสถานีไปคำนวณ \inline \bar{H} โดยใช้ค่า \Delta T จากข้อมูลปี ค.ศ.2010 ที่สถานีนั้น ซึ่งเป็นข้อมูลที่มิได้ใช้ในการสร้างแบบจำลอง ผลที่ได้พบว่าค่า \inline \bar{H} ซึ่งคำนวณได้จากแบบจำลองและค่าจากการวัดส่วนใหญ่มีความสอดคล้องกัน

คำสำคัญ: รังสีดวงอาทิตย์ อุณหภูมิอากาศแวดล้อม ประเทศไทย

 

Abstract

In this work, models for estimating monthly average global radiation (\bar{H}) from the monthly average of the difference between the daily maximum and daily minimum ambient air temperatures were developed. The development of the model was started with the collection of global solar radiation data (H), maximum air temperature data ( Tmax ) and minimum air temperature data (Tmin ) from 28 meteorological stations in Thailand. Then, the values of monthly average of daily global radiation (\bar{H}) and the values of the monthly average of the difference between the daily maximum and daily minimum air temperatures (\Delta T) were calculated. The values of monthly average daily extraterrestrial radiation( \inline \bar{H}0 ) were also computed. In the next step, the values of \inline \bar{H}/\inline \bar{H}0 were plotted against those of \Delta T. Graphs of \inline \bar{H}/\inline \bar{H}0 vs \Delta T from most stations demonstrated systematic relation between these two parameters. Only the data from a few stations showed non-systematic relation between \inline \bar{H}/\inline \bar{H}0 and \Delta T. Empirical models relating \inline \bar{H}/\inline \bar{H}0 to \Delta T were formulated for the stations with the systematic relation. To investigate the performance of the model of each station, the model was used to calculate \bar{H} from the data of \Delta T from the year 2010 at that station. These data were not involved in the model formulation. It was found that the values of \bar{H} calculated from the model and those obtained from the measurements were in good agreement.

Keywords: global solar radiation, ambient air temperature, Thailand

Article Details

บท
Original Articles