ผลของรังสีแกมมาแบบเฉียบพลันต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะสัณฐานของต้นแววมยุราพันธุ์พื้นเมือง
Main Article Content
Abstract
Abstract
The effect of acute gamma irradiation on morphological changes in native Torenia (Torenia fournieri) was studied by using leaves which were irradiated with gamma rays at the doses of 0, 20, 40, 60, 80, and 100 grays. After 60 days of leaf cuttings, survival rate was recorded. It was found that by increasing dosage of gamma radiation, survival rate was decreased. The relationship between concentration of gamma radiation and survival percentage was graphed to get LD50(60). It was found that 51 grays radiation resulted in 50 percent survival after 60 days. The number of new shoots from 60, 80 and 100 gray leaves were less than that of the control. However, it is observed that the number of new shoots was highest at 20 grays (5 shoots). When new shoots were 120 days after radiation treatment, the height and the canopy width were lower in the groups exposed to gamma radiation at 80 and 100 grays. As for morphological changes after irradiation, some specimens in the 40 grays treatment group had short leaves, round serrate and dentate leaves. The guard cells and subsidiary cells were abnormal and numbers of abnormal guard cells were increased when dosage of gamma radiation increased.
Keywords: survival rate; acute gamma irradiation; guard cell; leaf cutting
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข้อความที่ปรากฏในแต่ละเรื่องของวารสารเล่มนี้เป็นเพียงความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่มีความเกี่ยวข้องกับคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือคณาจารย์ท่านอื่นในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้เขียนต้องยืนยันว่าความรับผิดชอบต่อทุกข้อความที่นำเสนอไว้ในบทความของตน หากมีข้อผิดพลาดหรือความไม่ถูกต้องใด ๆ
References
จิราภรณ์ จิรานภาพันธุ์, 2554, การชักนำให้เกิด โพลีพลอยด์ในแววมยุราพันธุ์ลูกผสม (Torenia fournieri x Torenia baillonii) และแววมยุราพันธุ์กลายดอกสีเหลืองด้วยการใช้สารโคลซิชีนชนิดเม็ด, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์, 2545, เขียนเรื่องดอกไม้ไว้อ่านเล่น 3 : จากฟาแลนนอพซิสถึงสแตติส,สายธุรกิจโรงพิมพ์ / บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง, กรุงเทพฯ.
ยงศักดิ์ ขจรผดุงกิตติ และอัญชลี จาละ, 2558, รังสีแกมมาแบบเฉียบพลันที่มีผลต่อเนื้อเยื่อหน้าวัวในสภาพปลอดเชื้อ, Thai J. Sci. Technol. 4(2): 177-184.
ศรัญญู ถนิมลักษณ์, ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์, พัฒนา สุขประเสริฐ, พีรนุช จอมพุก และอนันต์ พิริยะภัทรกิจ, 2561, การชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์ในบานไม่รู้โรยลูกผสมพันธุ์กลายโดยการฉายรังสีแกมมา, Thai J. Sci. Technol. 7(1): 48-57.
สุพิชชา สิทธินิสัยสุข, ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์, พีรนุช จอมพุก และณัฐพงค์ จันจุฬา, 2561, ผลของรังสีแกมมาแบบเฉียบพลันต่อต้นลินเดอร์เนียในสภาพปลอดเชื้อ, Thai J. Sci. Technol. 7(2): 158-168.
อรุณี วงศ์ปิยะสถิตย์, 2530, วิธีการปรับปรุงพันธุ์โดยการกลายพันธุ์, เอกสารการสอนการใช้รังสีและไอโซโทป, ภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
อัญชลี จาละ, 2554, รังสีแกมมาระดับต่าง ๆ มีผลต่อจำนวนเซลล์คุมและปริมาณคลอโรฟิลล์ของใบอัญชัน (Clitoria ternatea L.), ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 19(4): 61-69.
Chanchula, N., 2015, Biotechnological Techniques for improvement of native torenia and their hybrids, Ph.D. Thesis, Kasetsart University, Bangkok.
Taychasinpitak, T., Kikuchi, S., Jala, A., Thanananta, T. and Chanchula, N., 2016, Mutation Breeding of Thai Native Torenia (Torenia fournieri Lind.) by -ray irradiation, Thai J. Sci. Technol. 5(2): 190-199.