การใช้ชีวภัณฑ์ชนิดผงจากดินขาวสำหรับย่อยฟางข้าวและควบคุมโรคขอบใบแห้งในระบบการปลูกข้าวอินทรีย์

Main Article Content

ดุสิต อธินุวัฒน์
ศิระประภา มหานิล

Abstract

Abstract


New bioproduct consisted of Bacillus subtilis, Aspergillus sp., Azotobacter sp., Saccharomyces cerevisiae, and Trichoderma sp. was evaluated for degrading of rice stubble and controlling bacterial leaf blight of rice cultivar Khao Dawk Mali 105 compared to bioorganic liquid produced by farmers and commercial produced under paddy field conditions. The investigation was carried out at Pathum Thani during October, 2015-January, 2016 and April-July, 2016 using Randomized Complete Block Design (RCBD). After microbial powder formula (bioproduct) was used the result revealed the soil property as degradation rate and half-life tended to be higher than that of the control treatment (p = 0.05). The treatment of bioproduct increased plant height, number of lateral roots, stem fresh weight, stem dry weight, tiller number per hill, seed number per spike when compared with those of the control treatments (p = 0.05). Moreover, bacterial leaf blight was controlled by the bioproduct under field conditions. It would be the positive impacts of new bioproduct in degrading rice stubble and sustainable controlling bacterial leaf blight control. 


Keywords: bioproduct powder formula; straw decomposition; bacterial leaf blight

Article Details

How to Cite
อธินุวัฒน์ ด., & มหานิล ศ. (2019). การใช้ชีวภัณฑ์ชนิดผงจากดินขาวสำหรับย่อยฟางข้าวและควบคุมโรคขอบใบแห้งในระบบการปลูกข้าวอินทรีย์. Thai Journal of Science and Technology, 8(2), 127–137. https://doi.org/10.14456/tjst.2019.22
Section
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
Author Biographies

ดุสิต อธินุวัฒน์

สาขาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

ศิระประภา มหานิล

สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ตำบลท่าสุด อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57100

References

กรมอุตุนิยมวิทยา, ภัยแล้ง, แหล่งที่มา : http://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=71.
กองนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, เลื่อนปลูกนาปีสู้ภัยแล้ง สศก. เผยไม่กระทบผลผลิตนาปี ระบุ GDPเกษตร อาจลดลงไม่มาก, แหล่งที่มา : http://www.oae.go.th/ewt_news.php?nid=20182&filename=index, 9 สิงหาคม 2558.
จตุพร บุณณดากุล, วิลาวรรณ์ เชื้อบุญ และดุสิต อธินุวัฒน์, 2555, เชื้อผสมหลายสายพันธุ์เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ธาตุอาหารในดินและส่งเสริมการเจริญเติบโตข้าวหอมมะลิอินทรีย์, น. 104-115, การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 10, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต, ปทุมธานี.
จิระเดช แจ่มสว่าง และวรรณวิไล อินทนู, 2542, การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาควบคุมโรคพืช, โครงการเกษตรกู้ชาติ, ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม, 90 น.
ฉันฐิสา เกศมณี, 2540, การศึกษาปริมาณการปล่อยแก๊สเรือนกระจกจากกระบวนการอุตสาหกรรมการผลิต, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, กรุงเทพฯ.
ดุสิต อธินุวัฒน์, ปาริชาติ สถิตธรรมพนา และจตุพร บุณณดากุล, 2555, ประสิทธิภาพแบคทีเรียปฏิปักษ์ Bacillus subtilis สายพันธุ์ TU-Orga1 ในการส่งเสริมการเจริญเติบโตและควบคุมโรคขอบใบแห้งและใบขีดโปร่งแสงของข้าว, น. 117-118, การประชุมวิชาการ “ธรรมศาสตร์วิจัย ก้าวไกล สู่สากล”, หอประชุมกองทัพเรือ, กรุงเทพฯ.
ปาริชาติ สถิตธรรมพนา, วิลาวรรณ์ เชื้อบุญ และดุสิต อธินุวัฒน์, 2555, ลักษณะและประสิทธิ ภาพของแบคทีเรียที่มีประโยชน์ควบคุมเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae สาเหตุโรคขอบใบแห้งของข้าว, น. 116-127, การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 10, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต, ปทุมธานี.
พากเพียร อรัญนารถ, นงรัตน์ นิลพานิชย์ และรัศมี ฐิติเกียรติพงศ์, 2552, ประสิทธิภาพของสารป้องกันกำจัดโรคพืชบางชนิด, ว.วิทย.กษ. 40 (พิเศษ 1): 51-54.
อรพินท์ สุริยพันธุ์, โยอิชิ อุเอฮารา และวิศิษฐ์ โชลิตกุล, 2531, ผลของการใช้อินทรียวัตถุที่มีต่อสมบัติทางเคมีของดินและผลผลิตของข้าวโพดในดินชุดปากช่อง, น. 71-78, เอกสารวิชาการอินทรียวัตถุกับการเกษตรในดินไร่, กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ.
Boonnadakul, C., Somsook, S., Anurugsa, B. and Athinuwat, D., 2012, Efficacy of rice stubble degrading microorganisms, fungal antagonist and N-fixing bacterium for enhancing growth and yield of organic rice, Mol. Plant Microbe Interact. 25: 1104-1117.
Faithfull, N.T., 2002, Methods in Agricultural, Chemical Analysis: A Practical Handbook, CABI Publishing, Wallingford, 266 p.
Kevin, K., 2005, Fungi Biology and Applications Edited, John Wiley & Sons, Ltd., New Jersey.
Schneider-Müller, S., Kurosaki, F. and Nishi, A., 1994, Role of salicylic acid and intracellular Ca2+ in the induction of chitinase activity in carrot suspension culture, Physiol. Mol. Plant Pathol. 45: 101-109.
Singh, P. and Bhargava, S.C., 1994, Changes in growth and yield components of Brassica napus in response to Azotobacter inoculation at different rates nitrogen application, J. Agric. Sci. 122: 241-247.