แบบจำลองพื้นที่การใช้ประโยชน์ร่วมกันของกระทิงและช้างป่าในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ
Main Article Content
Abstract
Abstract
This article attempted to predict the distributions and co-habitats of gaur (Bos gaurus) and elephant (Elephas maximus) at Phu Khieo Wildlife Sanctuary (PKWS), Chaiyaphum Province. The research study of the wildlife distribution was evaluated by using maximum entropy (MaxEnt) model. The selected mammal species included gaur and elephant, and their occurrences were gathered from smart patrols conducted by the rangers during 2012-2016. The results revealed that at the considerable environment factors on the wildlife distribution included distance from saltlicks (41.50 %), land use (13.50 %), precipitation of wettest month (8.10 %), distance from rangeland (4.95 %), distance from villages (6.85 %), slope (5.40 %) and distance from water sources (4.3 %). Additionally, the maximum range sizes of the sanctuary’s area were predicted to cover 486.21 and 399.57 sqkm., for gaur and elephant, respectively. Furthermore, the co-habitats or overlapped habitats for 2 species cover 315.92 sqkm, most areas in the northern part. All habitats suitable for the wildlife distribution are 569.86 sqkm.
Keywords: wildlife; distribution; Phu Khieo Wildlife Sanctuary
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข้อความที่ปรากฏในแต่ละเรื่องของวารสารเล่มนี้เป็นเพียงความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่มีความเกี่ยวข้องกับคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือคณาจารย์ท่านอื่นในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้เขียนต้องยืนยันว่าความรับผิดชอบต่อทุกข้อความที่นำเสนอไว้ในบทความของตน หากมีข้อผิดพลาดหรือความไม่ถูกต้องใด ๆ
References
นริศ ภูมิภาคพันธ์, 2553, นิเวศวิทยาและการจัดการสัตว์ป่า, ภาควิชาชีววิทยาป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
นิรันดร์รัตน์ ป้อมอิ่ม, 2558, การแพร่กระจายและสถานภาพการอนุรักษ์พลับพลึงธาร (Crinum thaianum J. Schulze) ในประเทศไทย, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
เบญจรัตน์ พรหมเพ็ญ, 2553, แบบจำลองถิ่นอาศัยของกระทิง (Bos gaurus H. Smith) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
พิเชฐ นุ่นโต, ชุติอร ซาวีนี, มัทนา ศรีกระจ่าง และชิษนุวัฒน์ มณีศรีขำ, 2561, เสียงคน เสียงช้างป่า : แนวโน้มการตอบสนองของชุมชนต่อการจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างคนกับช้างป่าในประเทศไทย, กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น, กรุงเทพฯ.
รองลาภ สุขมาสรวง, 2536, นิเวศวิทยาของช้างป่า (Elephas maximus Linnaeus, 1758) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี และตาก, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ศุภกร อินทรประสิทธิ์, รองลาภ สุขมาสรวง และประทีป ด้วงแค, 2560, ความมากมายและการเลือกกินเหยื่อของหมาใน (Cuon alpinus) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี, ว.สัตว์ป่าเมืองไทย 24(1): 63-74.
ศุภกิจ วินิตพรสวรรค์, 2546, การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อวิเคราะห์การแพร่กระจายของช้างป่า (Elephas maximus Linnaeus, 1758) ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2560, ชนิดพันธุ์ที่ถูกคุมคามของประเทศไทย : สัตว์มีกระดูกสันหลัง, บริษัท เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จำกัด, กรุงเทพฯ.
สุชาติ โภชฌงค์, 2558, การประเมินถิ่นที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมของสัตว์ป่าชนิดสำคัญในกลุ่มผืนป่าภูเขียว-น้ำหนาว, รายงานโครงการวิจัย, ส่วนสารสนเทศด้านอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, กรุงเทพฯ.
อัจฉรา เพชรดี, 2543, อุปนิสัยการกินอาหารของเสือโคร่งในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งจากการวิเคราะห์มูล, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
อุทิศ กุฏอินทร์, 2550, ข้อมูลพื้นฐานเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว, สำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, กรุงเทพฯ.
IUCN, 2018, The Iucn Red List of Threatened Species, Available Source: http://www.iucnredlist.org/details/3812/0, November 5, 2018.
Liu, C., Berry, P.M., Dawson, T.P. and Pearson, R.G., 2005, Selecting thresholds of occurrence in the prediction of species distributions, Ecography 28: 385-393.
Phillips, J.S. and Dudik, M., 2008, Modeling of species distributions with maxent: New extensions and a comprehensive evaluation, Ecography 31: 756-769.
Trisurat, Y. and Toxopeus, A.G., 2011, Modeling Species Distribution, pp. 171-197, In Trisurat, Y., Shrestha, R.P. and Alkemade, R. (Eds.), Book Modeling Species Distribution, Hershey.
Trisurat, Y. and Bhumpakphan, N., 2018, Effects of land use and climate change on Siamese Eld's Deer (Rucervus eldii siamensis) distribution in the transboundary conservation area in Thailand, Cambodia, and Lao PDR., Front. Environ. Sci. 6: 1-15.
Trisurat, Y., Alkemade, R. and Verburg, P., 2010, Projecting land use change and its consequences for biodiversity in Northern Thailand, Environ. Manage. 45: 626-639.
Trisurat, Y., Kanchanasaka, B. and Kreft, H., 2014, Assessing potential effects of land use and climate change on mammal distribution in Northern Thailand, Wildlife Res. 41: 522-536.
WorldClim, 2016, Global Climate Data, Available Source: https://worldclim.org, November 30, 2016.