การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของตัวสถิติทดสอบอิงพารามิเตอร์และไม่อิงพารามิเตอร์ระหว่างค่ากลางของประชากร 2 กลุ่ม สัมพันธ์กันภายใต้การแจกแจงที่มีความโด่งปรกติและโด่งมาก
Main Article Content
Abstract
The objective of this project was to compare the efficiency of parametric and nonparametric statistics between the central value of two population groups related under mesokurtic and leptokurtic kurtosis distribution. The evaluation was in terms of statistics ability to control the probability of type I error and the power of a test. The runs in the case of multivariate normal distribution and multivariate Laplace distribution, at significant levels of 0.01 and 0.05, correlation coefficients were set to be 0.1, 0.5, 0.9 and -0.1, -0.5, -0.9. The sizes of the samples from the two populations group were the same, as follows: (20,20), (40,40), (60,60), (80,80), (100,100). When the sample size is increased, it has ability to control high probability of type I errors and high power of a test in all cases. It was shown that Wilcoxon matched-pair signed-ranks test had the most control over the probability of type I error. In addition, for power of a test, it was found that randomization test for matched pair or permutation test for paired replicated and Wilcoxon matched-pair signed-ranks test also gave the highest power.
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข้อความที่ปรากฏในแต่ละเรื่องของวารสารเล่มนี้เป็นเพียงความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่มีความเกี่ยวข้องกับคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือคณาจารย์ท่านอื่นในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้เขียนต้องยืนยันว่าความรับผิดชอบต่อทุกข้อความที่นำเสนอไว้ในบทความของตน หากมีข้อผิดพลาดหรือความไม่ถูกต้องใด ๆ
References
กัลยา บุญหล้า, น้ำเพชร ยอดแสน และสุรีย์รัตน์ แก้วศรีเมือง, 2561, การเปรียบเทียบสถิติทดสอบเมื่อประชากร 2 กลุ่ม ไม่เป็นอิสระกัน, ว.วิทยาศาสตร์ลาดกระบัง 27(1): 78-87.
กัลยา วานิชย์บัญชา, 2554, หลักสถิติ, บริษัท ธรรมสาร, กรุงเทพฯ.
น้อมจิต กิตติโชติพาณิชย์, 2558, สถิติคณิตศาสตร์, เอกสารประกอบการสอน, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ.
มนตรี สังข์ทอง, 2556, การศึกษาประสิทธิภาพของสถิติอิงพารามิเตอร์และสถิติไม่อิงพารามิเตอร์ในการทดสอบความแตกต่างของค่ากลางระหว่างประชากร 2 กลุ่ม, KKU Sci. J. 41(1): 226-238.
ณหทัย ราตรี, 2554, สถิติเบื้องต้น : แนวคิดและทฤษฎี, บริษัท วี.พริ้นท์, กรุงเทพฯ.
ลลิตา โชติธนากิจ, 2554, การเปรียบเทียบประสิทธิ ภาพของตัวสถิติทดสอบทีและตัวสถิติทดสอบวิลคอกซันสำหรับประชากรสองกลุ่มไม่เป็นอิสระกัน, ปัญหาพิเศษระดับปริญญาตรี, มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.
วราฤทธิ์ พานิชกิจโกศลกุล, 2549, ขนาดตัวอย่างที่น้อยที่สุดสำหรับการประมาณค่าแบบช่วงของผลต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของสองประชากร, ว.วิจัยและพัฒนา มจธ. 29(2): 173-184.
สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2551, สถิติเบื้องต้น, บริษัท จามจุรีโปรดักส์, กรุงเทพฯ.
สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2552, สถิติที่ไม่ใช้พารา มิเตอร์, บริษัท จามจุรีโปรดักส์, กรุงเทพฯ.
สายชล สินสมบูรณ์ทอง, 2558, การแจกแจงเชิงสถิติ, บริษัท จามจุรีโปรดักส์, กรุงเทพฯ.
อานนท์ แก้วปลั่ง, 2555, การเปรียบเทียบประสิทธิ ภาพของสถิติทดสอบสำหรับการทดสอบค่ากลางของประชากร 2 กลุ่ม ที่ไม่เป็นอิสระกัน เมื่อข้อมูลอยู่ในมาตราอันดับ, ปัญหาพิเศษระดับปริญญาตรี, มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.
อุมาพร จันทศร, 2542, สถิติที่ไม่ใช้พารามิเตอร์, บริษัท ฟิสิกส์เซ็นเตอร์, กรุงเทพฯ.
Blair, R.C. and Higgins, J.J., 1985, Comparison of the power of the paired samples t test to that of Wilcoxon’s signed-ranks test under various population shapes, Psychol. Bull. 97(1): 119-128.
Butar, B.F., 2008, Permutation tests for comparing two populations, J. Math. Sci. Math. Edu. 3(2): 19-30.
Bradley, J.V., 1978, Robustness, Br. J. Math. Stat. Psychol. 31: 144-151.
Proschan, M., Glimm, E. and Posch, M., 2014, Connection between permutation and t tests: Relevance to adaptive methods, Stat. Med. 33: 4734-4742.
Singmann, H., 2018, Multivariate Laplace Distribution, Avaiable Source: https://www.rdocumentation.org/packages/LaplacesDemon/versions/16.1.1/topics/dist.Multivariate.Laplace, April 30, 2019.