การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวพองจากข้าวเหนียวเขี้ยวงูอินทรีย์

Main Article Content

วรรณศิกา ช่วยพัฒน์
ดุสิต อธินุวัฒน์
ดวงกมล ด่านขับต้อน
ชนัญ ผลประไพ

Abstract

The purpose of this research was to develop of puffed rice product from organic Kiaw Ngoo sticky rice with modified syrup to product forming. The suitable manufacturing process in this production was also studied. We found that soaking glutinous rice in butterfly pea flower juice showed highest significantly (p ≤ 0.05) of a* value and texture value of puffed rice with 6.04±0.18 and 21.93±0.39 N, respectively when compared with those of other treatments. Subsequently, three treatments of puffed rice product forming modified syrup were investigated. We found that the formula 2; 10 g of glucose syrup and water and 5 g of stevia, gave the highest customer acceptances of the product including the best aroma, texture value, taste, and overall liking of puffed rice product with 6.7±0.20, 7.3±0.04, 7.2±0.03, and 7.4±0.04, respectively. Moreover, the formula 2 showed the best texture value and moisture content of the product with 20.56±0.18 N and 1.5±0.10 %, respectively. This indicated that the best process for puffed rice product was soaking glutinous rice in butterfly pea flower juice for 10-12 h, steamed with boiled water for 25 min, dried with solar energy for 24 h, and fried in boiled oil at 190 ºC. Then, 100 g of puffed rice were formed with modified syrup including 10 g of glucose syrup and water and 5 g of stevia.

Article Details

How to Cite
ช่วยพัฒน์ ว., อธินุวัฒน์ ด., ด่านขับต้อน ด., & ผลประไพ ช. (2020). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวพองจากข้าวเหนียวเขี้ยวงูอินทรีย์. Thai Journal of Science and Technology, 9(3), 397–406. https://doi.org/10.14456/tjst.2020.29
Section
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
Author Biographies

วรรณศิกา ช่วยพัฒน์

สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

ดุสิต อธินุวัฒน์

สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

ดวงกมล ด่านขับต้อน

มูลนิธิเกษตรอินทรีย์ไทย อาคารสำนักวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

ชนัญ ผลประไพ

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

References

คมคาย พฤกษากร, สุธีร์ นนทภา, สินธุ์ สโรบล และไมตรี สุทธจิตต์, 2557, การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไล่มดจากหญ้าหวาน, ว.นเรศวรพะเยา 7(2): 110-117.
งามชื่น คงเสรี, 2541, ผลิตภัณฑ์อาหาร, มหา วิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช, นนทบุรี, 429 น.
ณัฎวลิณคล เศรษฐปราโมทย์, อุบลรัตน์ พรหมฟัง, เกียรติศักดิ ไชยเลิศ และภูมิพัฒน์ มักได้, 2559, การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวพองรสชาติอาหารล้านนา (น้ำพริกอ่อง), รายงานการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ กลุ่มระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์, 1(1): 2752-2765.
ธิดารัตน์ ลบภู่ และปิยพร บัวคำ, 2559, การพัฒนาผลิตภัณฑ์บาร์พลังงานต่ำจากส่วนผสมของข้าวกล้อง สับปะรด และสารสกัดจากหญ้าหวาน, รายงานการวิจัยสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร, คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
ไพบูลย์ ธรรมรัตน์วาสิก, จักรี ทองเรือง, พิทยา อดุลยธรรม, วรัญญู ศรีเดช และมุทิตา มีนุ่น, 2545, การผลิตข้าวพองเพื่อสุขภาพ, รายงานการวิจัยคณะอุตสาหกรรมเกษตร, มหาวิทยา ลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.
มะลิ นาชัยสินธุ์, ธนชัย พลเคน, สุมินทร์ญา ทีทา และกลยุทธ ดีจริง, 2558, การศึกษาคุณภาพข้าวอินทรีย์เคลือบใบเตยแบบกึ่งสําเร็จรูป, ว.วิจัยเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคราม 2(1): 72-79.
มาลี ซิ้มศรีสกุล, 2538, ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อคุณภาพการพองตัวของข้าวเปลือกและต่อคุณสมบัติแป้งข้าวพองที่ได้, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
รัตนาภรณ์ ลมูลภักตร์, 2549, ผลของการทอดด้วยเทคนิคการเจือน้ำมันที่มีต่อสมบัติทางเคมี ทางกายภาพและทางประสาทสัมผัสของข้าวพองเสริมธาตุไอโอดีน, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
วีรยา ศักดิ์คำดวง, นันทิยา วงศ์แสงตา และอรุณศรี ปรีเปรม, 2552, สารจากดอกอัญชัน : องค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์, ว.ศูนย์บริการวิชาการ 17(1-4): 10-15.
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม, 2559, มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช. 273/2559) ข้าวพอง, กรุงเทพฯ, 9 น.
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม, มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน 743/2548 ผลิตภัณฑ์ข้าวพอง, แหล่งที่มา : http://app.tisi.go.th/otop/standard/standards.html, 3 ธันวาคม 2562.
อัจฉรา นิยมเดชา, 2555, ผลของการเสริมใบเตยหอม (Pandanus amarylifolius Roxb.) ในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตของนกกระทาญี่ปุ่นและคุณภาพไข่, รายงานผลการวิจัยประจำปีงบประมาณ 2555, มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, นราธิวาส.
AOAC, 2000, Official Methods of Analysis of AOAC international, 17th Ed., Associstion of Official Analytical Chemists, Gaithersburg, MA.
Leelayuthsoontorn, P. and Thipayarat, A., 2006, Textural and morphological changes of jasmine rice under various elevated cooking condition, Food Chem. 96: 606-613.
Lobphu, T. and Buakam, P., 2016, Development of low calories bar from brown rice, pineapple and stevioside, FST CMU Res. Exerc. J. 1(1): 1-16.
Luangmalawat, P., Prachayawarakorn, S., Nathakaranakule, A. and Soponronnarit, S., 2008, Effect of temperature on drying characteristics and quality of cooked rice, Food Sci. Technol. 41: 716-723.
Villareal, C.P. and Juliano, B.O., 1987, Varietal differences in quality characteristic of puffed rice, Cereal Chem. 64: 337-342.