ประสิทธิภาพการใช้ระบบน้ำหมุนเวียนร่วมกับผักตบชวาในการเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย

Main Article Content

กานตกานท์ เทพณรงค์

Abstract

The hybrid catfish (C. macrocephalus x C. gariepinus) was cultured in water recirculating system for meeting the effluent standard of the Pollution Control Department. The experimental arrangement was a completely randomized design (CRD) with 3 replications and 2 treatments as follow: (1) water recirculating system, physical-filter system and bio-filter system (T1), and (2) water recirculating system, physical-filter system, bio-filter system and water hyacinth (T2). 14 hybrid catfish were raised in each of 6 aquariums for 8 weeks (stocking: 100 hybrid catfish/m3). They were experimented in 2 water systems but the same water exchange rate at 200 l/hr. The results showed weight that gain, average diary growth, length gain, average diary length and production in T2 higher significantly (p < 0.05) than T1. During the experiments all major water quality parameters in the both treatments remained the effluent standard. pH was lower than the effluent standard. However, the efficiency of BOD, total ammonia, nitrate and phosphate removal in T2 was significantly (p < 0.05) greater than T1 in weeks 7 and 8. 


Keywords: ammonia; water hyacinth; recirculation aquaculture system (RAS)

Article Details

Section
Biological Sciences
Author Biography

กานตกานท์ เทพณรงค์

โปรแกรมวิชาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000

References

[1] สุบัณฑิต นิ่มรัตน์ และวีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย, 2552, การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างยั่งยืน : บทบาทของจุลินทรีย์และการประยุกต์ใช้, สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
[2] พนม สินวรพันธุ์, 2552, ระบบน้ำและความหนาแน่นที่เหมาะสมในการเลี้ยงหอยหวาน (Babylonia areolata), วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.
[3] นิคม ละอองศิริวงศ์, ลักขณา ละอองศิริวงศ์, พัชรา แมเร๊าะ และคมน์ ศิลปาจารย์, 2554, การเลี้ยงปลากะพงขาว ขนาด 4-6 นิ้ว ในระบบน้ำหมุนเวียน, น. 92-99, การประชุมทางวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 49 : สาขาประมง, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
[4] กรมประมง, 2558, การเพาะเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุย, สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ.
[5] Boyd, C.E. and Tucker, C.S. 1992. Water Quality and Pond Soil Analyses for Aquaculture. Alabama Agricultural Experiment Station, Auburn University, Alabama.
[6] APHA, AWWA and WPCF, 1998, Standard Methods for the Examination of Water and Wastewater, 20th Ed, American Public Health Association, Washington, D.C.
[7] อุทัยรัตน์ ณ นคร, 2544, ปลาดุก, เอกสารคำสอน, ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
[8] อุธร ฤทธิลึก, สรรลาภ สงวนดีสกุล และศรัณยา รักเสรี, 2553, การผสมผสานระบบปลูกพืชไรดินเพื่อบำบัดน้ำเสียในระบบการเลี้ยงปลาแบบใชน้ำหมุนเวียน, ว.วิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก 3(2): 38-53.
[9] ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ, แหล่งที่มา : http://www.hongkhrai.com/pdf/report%20pdf%20High%20Light/data%2003.pdf., 2 มีนาคม 2558.
[10] สุฤทธิ์ สมบูรณ์ชัย, 2551, การเลี้ยงปลาดุกลูกผสมในบ่อซีเมนต์ระบบหมุนเวียนร่วมกับระบบการปลูกพืชไฮโดรโพนิกส์, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่.
[11] ไมตรี ดวงสวัสดิ์ และจารุวรรณ สมสิริ, 2528, คุณสมบัติของน้ำและวิธีการวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางการประมง, สถาบันประมงน้ำจืดแห่งชาติ กรมประมง, กรุงเทพฯ.
[12] ชาญยุทธ คงภิรมย์ชื่น, 2533, คู่มือปฏิบัติการคุณภาพน้ำทางการประมง, คณะเกษตรศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลภาคตะวันออก, ชลบุรี.
[13] สมหมาย เชี่ยววารีสัจจะ, 2539, การจัดการคุณภาพน้ำ, ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา.
[14] จิรวัช ช่วยรอดหมด, 2549, ประสิทธิภาพของระบบกรองชีวภาพเพื่อการเลี้ยงปลาในตู้ระบบปิด, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์, สงขลา.
[15] กรมควบคุมมลพิษ, มาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, แหล่งที่มา : http://www.pcd.go.th, 10 มกราคม 2559.
[16] Boyd, C.E., 2015, Water Quality: An Introduction, 2nd Ed., School of Fisheries, Aquaculture and Aquatic Sciences, Auburn University, Auburn, AL.