การประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศไทยและแนวทางการลดเพื่อการผลิตอย่างยั่งยืน

Main Article Content

สุรีพร ขอนพิกุล
ณภัทร จักรวัฒนา
จิตติ มังคละศิริ

Abstract

This research assessed greenhouse gas (GHG) emission from maize cultivation in Thailand at the national scale and evaluated options for improvement. The result showed that total GHG emission from maize cultivation in Thailand in 2015 accounted for 1.6 million ton CO2eq. There were 73 % of GHG emissions came from hill area and 23 % come from plain area. The majority of GHG emission came from N2O emission from using of N fertilizer which accounting for 47 %. The acquisition for N fertilizer accounted for 26 %. GHG emission from burning of biomass residue accounted for 17 %. GHG from land use change from forest area and other crops to maize area from 2009 to 2015 accounted for 19 million ton CO2eq. In term of improvement alternative, applying tailor-made fertilizer can reduce GHG emission about by 22 %. Applying tailor-made fertilizer and moving uphill maize cultivation area to plain area can reduce GHG emission by 48 %. 


Keywords: maize; greenhouse gas (GHG) emission; PM10; land use change (LUC); tailor-made fertilizer

Article Details

Section
Biological Sciences
Author Biographies

สุรีพร ขอนพิกุล

วิทยาลัยพลังงานและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยพะเยา ตำบลแม่กา อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา 56000

ณภัทร จักรวัฒนา

วิทยาลัยพลังงานและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยพะเยา ตำบลแม่กา อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา 56000

จิตติ มังคละศิริ

ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (ศว.) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

References

[1] สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2555, สถานการณ์และแนวโน้มการผลิตข้าวโพดไทยกับความมั่นคงด้านอาหารสัตว์, แหล่งที่มา : http:// www.trf.or.th/component/attachments/download/57, 30 พฤษภาคม 2557.
[2] สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย, 2558, ความจริงเรื่องข้าวโพดเลี้ยงสัตว์กับทางออกเพื่อประเทศไทย, แหล่งที่มา : http://thaipublica.org/2015/04/maize-crop-cycle-5, 30 ธันวาคม 2558.
[3] สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย, 2557, ยุทธศาสตร์อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ปี 2575, แหล่งที่มา : http://www.thaifeedmill.com/Portals/0/2014/รายงานฉบับผู้บริหาร.pdf, 20 มีนาคม 2558.
[4] เขมรัฐ เถลิงศร และสิทธิเดช พงศ์กิจวรสิน, 2558, ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์กับการสูญเสียพื้นที่ป่า : ปัญหาและทางออก, พิมพ์ครั้งที่ 1, สถาบันคลังสมองของชาติ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, กรุงเทพฯ.
[5] ฐิฏาพร สุภาษี, พานิช อินต๊ะ และเศรษฐ์ สัมภัตตะกุล, 2559, การวิเคราะห์การปล่อยก๊าซเรือนกระจกและฝุ่นละอองขนาดเล็กจากกิจกรรมการเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่, ว.วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 23(3): 94-105.
[6] Tongpool, R., Phanichavalit, N., Yuvaniyama, C. and Mungcharoen, T., 2012, Improvement of the environmental performance of broiler feeds: a study via life cycle assessment, J. Clean. Prod. 35: 16e24.
[7] สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2557, ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รวมรุ่น : เนื้อที่เพาะปลูกเนื้อที่เก็บเกี่ยวผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ ปี 2554-2556, แหล่งที่มา : http://www.oae.go.th/downlo ad/prcai/DryCrop/amphoe/maize-amphoe.pdf, 12 พฤษภาคม 2557.
[8] Yamane, T., 1973, Statistics: An Introductory Analysis, 3rd Ed., Harper and Row Publication, Newyork.
[9] สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย, 2560, สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำคัญและแนวโน้ม ปี 2560, น.ธุรกิจอาหารสัตว์ 34(173): 5-20.
[10] โครงการจัดทำฐานข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภาคเกษตร, 2555, บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, กรุงเทพฯ.
[11] Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization), 2016, Carbon Footprint of Product, Available Source: http://thaicarbonlabel.tgo.or.th/ download/EmissionFactor_CFP.pdf, April 18, 2016.
[12] IPCC 2006, 2006, IPCC Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories, In B. L. Eggleston H.S., Japan: IGES.
[13] Thanawong, K., Perret, S.R. and Basset-Mens, C., 2014. Eco-efficiency of paddy rice production in Northeastern Thailand: A comparison of rain-fed and irrigated cropping systems, J. Clean. Prod. 73: 204-217.
[14] Jia, X.P., Huang, J., Xiang, C., HOU, L., Zhang, F., Chen, X., Cui, Z. and Bergmannd, H., 2013. Farmer’s adoption of improved nitrogen management strategies in maize production in China: An experimental knowledge training, J. Integr. Agr. 12: 364-373.
[15] กรมการค้าภายใน, 2558, ระบบภูมิสารสนเทศ ตลาด คลังสินค้า ไซโล ห้องเย็น, แหล่งที่มา : http://gis.dit.go.th/gis56/market/default.aspx, 20 มีนาคม 2558.
[16] สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย, 2558, ธรรมเนียบสมาชิก, แหล่งที่มา : http://www.thaifeedmill.com/เกยวกบสมาคมAboutUs/ทำเนยบสมาชกMembers/tabid/65/Default.aspx., 20 มีนาคม 2558.
[17] กรมพัฒนาที่ดิน, 2558, ระบบภูมิสารสนเทศดินและการใช้ประโยชน์ที่ดิน, กรมพัฒนาที่ดิน, กรุงเทพฯ.