ปัญหาและอุปสรรคในระบบการผลิต การจำหน่าย และการบริโภคของผู้มีส่วนได้เสียต่อผลิตภัณฑ์ยาจากสมุนไพรอินทรีย์ : กรณีศึกษา มูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร

Main Article Content

อรประภา เทพศิลปวิสุทธิ์
ชนากานต์ หวานเสร็จ
สมชาย ชคตระการ
ธีระ สินเดชารักษ์

Abstract

This study was investigated from the indepth interview and questionnaire using purposive sampling of stakeholders for the organic herbal medicine products of Chao Phya Abhaibhubejh hospital foundation, which were the producer (farmer), entrepreneur and consumer, to evaluate the problems and obstacles of stakeholders, and attitudes and needs of consumers about organic herbal medicine products. For the results from the producer, it showed that the important problems and obstacles were (1) deficient market and (2) plant diseases and pests in field. For the part of entrepreneur, although they had a good attitude towards the using of organic herbs as a raw material in the herbal medicine production, it had some problems that were (1) lacking of some organic herbs (temperate plants) and (2) chemical contamination in some organic herbs. For the results of the consumers survey, it was revealed that not less of consumers had no the basic knowledge about organic agriculture (32.9 percent), but almost of the consumers had a positive attitude with organic herbal medicine, except the colors, smell and taste, which had different opinions. In addition, the main reason for buying herbal medicine was the confidence in the virtues of the herbs (95.0 percent), which mostly used by consumers for the gastrointestinal tract (70.8 percent). The recommendation from the organic herb farmers was found that there were requirement for increasing of marketing channels to sell the organic herbs. In addition, they needed the processing knowledge for value-added products from the related agencies. In the recommendation from entrepreneurs and consumers, they suggested that the knowledge of herbal products using should be promoted increasingly. 


Keywords: attitude; problem and obstacle; herbal medicine product; stakeholder; organic herb

Article Details

Section
Medical Sciences
Author Biographies

อรประภา เทพศิลปวิสุทธิ์

สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

ชนากานต์ หวานเสร็จ

สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

สมชาย ชคตระการ

สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

ธีระ สินเดชารักษ์

คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

References

[1] สุภาภรณ์ ปิติพร, 2551, ความหลากหลายทางชีวภาพกับการแพทย์พื้นบ้านไทย, เอกสารประกอบการสัมมนาโครงการสำรวจรวบรวมข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพระดับท้องถิ่น (พื้นที่ป่าตะวันตก) ครั้งที่ 2, สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, กรุงเทพฯ, 15 น.
[2] กลุ่มอุตสาหกรรมสมุนไพร, 2554, รายงานผลการวิเคราะห์ขีดความสามารถในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน, โครงการเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้ SMEs ภาคการผลิตเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community, AEC) ปี 2554, สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ, 35 น.
[3] ภัทรพล จึงสมเจตไพศาล, 2556, การพัฒนาต้นแบบการส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในครัวเรือนในประเทศไทย, ว.วิชาการกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 9(1): 31-43.
[4] สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม, สถานการณ์โรคและภัยสุขภาพจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช, แหล่งที่มา : http://envocc.ddc.moph.go.th/contents/view/106, 20 กรกฏาคม 2558.
[5] เครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช, รายงานผลการตรวจผักในกรุงเทพมหานคร, แหล่งที่มา : http://www.thaipan.org/node/362, 10 กรกฎาคม 2558.
[6] สาคร ศรีมุข, 2556, ผลกระทบจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรของประเทศไทย, กลุ่มงานวิจัยและข้อมูลสำนักวิชาการ, สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา, กรุงเทพฯ, 29 น.
[7] IFOAM, 2008, Definition of organic agriculture, Available Source: https://www.ifoam.bio/en/organic-landmarks/definetion-organic-agriculture, June 20, 2015.
[8] สุภาภรณ์ ปิติพร, 2547, สมุนไพรอภัยภูเบศรสืบสานภูมิปัญญาไทย, โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร, ปราจีนบุรี, 108 น.
[9] ศิริวรรณ เสรีรัตน์, ศุภร เสรีรัตน์, ปณิศา มีจินดา, อรทัย เลิศวรรณวิทย์, ปริญ ลักษิตานนท์, องอาจ ปทะวานิช และจิระวัฒน์ อนุชชานนท์, 2552, การบริหารการตลาดใหม่ : Marketing management ฉบับปรับปรุงใหม่ปี 2552, Diamond In Business World, กรุงเทพฯ, 630 น.
[10] เฉลิมพล แจ่มจันทร์ และสวรัย บุณยมานนท์, 2556, บทบาทของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในการพัฒนาสังคมและชุมชนไทย, ว.เศรษฐศาสตร์ปริทรรศน์ สถาบันพัฒนศาสตร์ 7(1): 109-151.
[11] ปิติมน ล้อมสมบูรณ์, 2554, รูปแบบและกลยุทธ์ในการเป็นผู้ประกอบการสังคมของมูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ, 116 น.
[12] วราภรณ์ โภคานันท์, 2545, การสื่อสารการตลาดผลิตภัณฑ์สมุนไพรอภัยภเบศรกับพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค, วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, กรุงเทพฯ, 157 น.
[13] ไพฑูรย์ ตั้งยืนยง, 2549, ความพึงพอใจของลูกค้าต่อผลิตภัณฑ์สมุนไพรของโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี, การค้นคว้าแบบอิสระปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่, 93 น.