การศึกษาประสิทธิภาพตัวเร่งปฏิกิริยาแคลเซียมออกไซด์จากเปลือกหอยกาบใหญ่ สำหรับการผลิตไบโอดีเซล
Main Article Content
บทคัดย่อ
แคลเซียมคาร์บอเนตเป็นสารประกอบที่ถูกพบมากในเปลือกหอย เมื่อเปลือกหอยถูกเผาแคลไซน์แคลเซียมคาร์บอเนตจะเปลี่ยนเป็นแคลเซียมออกไซด์สำหรับใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาไบโอดีเซล จึงวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพตัวเร่งปฏิกิริยาแคลเซียมออกไซด์จากเปลือกหอยกาบใหญ่สำหรับผลิตไบโอดีเซล เตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาแคลเซียมออกไซด์ โดยเผาแคลไซน์ที่อุณหภูมิ 900๐C เป็นเวลา 4 ชั่วโมง เมื่อวิเคราะห์ด้วยเทคนิค XRD พบโครงสร้างของแคลเซียมออกไซด์ (CaO) ที่ตำแหน่ง (2q) เท่ากับ 32.21 37.24 53.77 64.13 67.57 และ 92.5 องศา มีพื้นผิวขรุขระ ในการผลิตไบโอดีเซลผ่านปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิเคชัน โดยใช้อัตราส่วนเชิงโมลเมทานอลต่อน้ำมัน 9:1 ที่อุณหภูมิ 60๐C ใช้เวลา 30 นาที ได้ไบโอดีเซลสูงสุดร้อยละ 78.32 และพบว่าน้ำมันไบโอดีเซลที่ได้มีคุณสมบัติผ่านตามมาตรฐาน ASTM และ EN 14103 ข้อค้นพบนี้สามารถเป็นทางเลือกสำหรับการผลิตไบโอดีเซลด้วยวัสดุในท้องถิ่นและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. นี้ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. ก่อนเท่านั้น
References
Boonyuen, S., Ruengsuttinaruebhap, S., Amnuaybhanich, Y. & Thapkri, T. (2013). Biodiesel production using synthetic heterogeneous catalyst from useless shells, Technology Science Journal.21,
-532. (in thai)
Colombo, K., Ender, L. & Barros, C. (2017). The study of biodiesel production using CaO as a heterogeneous catalytic reaction. Egyptian Journal of Petroleum. 26, 341-349.
Hatthason, S., Pairintra, R. & Krisnangkura, K. (2013).Comparison of Biodiesel Production Using CaO of Cockle Shell and Mud Crab Shell Catalysts. Agricultural Science Journal. 44 (2) (Suppl), 553-556. (in Thai)
Jaggernauth-all, P., John, E. & Bridgemohan, P. (2015). The application of calcined marlstones as a catalyst in biodiesel production from high free fatty acid coconut oil. Fuel. 158, 372-378.
Lani, N., Ngadi, N., Yahya, N. & Rahman, R. (2017). Synthesis, characterization and performance of silica impregnated calcium oxide as heterogeneous catalyst in biodiesel production. Journal of Cleaner Production. 146, 116-124.
Lapunt, M. (2018). Production of Biodiesel from Palm Oil Using Catalysts Derived from Local Shells in Loei Province. Journal of Materials Science and Applied Energy. 7(2), 282-287.
Marinkovic, D., Stankovic, M., Velickovic, A., Avramovic, J., Miladinovic, M., Stamenkovic, O., Velikovic, V. & Jovanovic, M. (2016). Calcium oxide as a promising heterogeneous catalyst for biodiesel production. Current state and perspectives Renewable and Sustainable Energy. Reviews. 56, 1387-1408.
Mustakimah, M., Suzana, Y. & Saikat, M. (2012). Decomposition study of calcium carbonate in cockle shell. J. Eng. Sci. Tech nol. 7, 1-10.
Namjan, M., Yimchun, M., Thongkham, C., Tochom, P., Boonmee, T. & Inthakusol, W. (2018). Novel developments of White Clay Filler catalysis for Biodiesel production. Phranakhon Rajabhat Research Journal (Science and Technology). 13(2), 84-98. (in Thai)