การแก้ปัญหาการบรรจุสินค้าโดยใช้แบบจำลองอบเหนียว
คำสำคัญ:
แบบจำลองอบเหนียว, การจัดวางแบบทดสอบจุดตามลำดับแกน, การจัดวางแบบจุดมุมบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ได้นำเสนอวิธีการบรรจุสินค้าลงในตู้คอนเทนเนอร์ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากโดยใช้วิธีการแบบจำลองอบเหนียว(Simulate Annealing: SA) ร่วมกับการจัดวาง 2 วิธีคือ การจัดวางแบบทดสอบจุดตามลำดับแกน (Axis Order Test) และการจัดวางแบบจุดมุม (Corner Point Placing) เนื่องจากการจัดวางสินค้ามีข้อจำกัดในด้านเวลา และจำนวนตู้ขนส่ง ดังนั้นในงานวิจัยเรื่องนี้มีจุดประสงค์เพื่อที่จะลดช่องว่างในตู้คอนเทนเนอร์ที่ใช้ขนส่งสินค้า พร้อมทั้งลดค่าใช้จ่ายและเวลาในการขนส่งและนำรูปแบบวิธีการจัดวางทั้งสองมาเปรียบเทียบกัน ผลปรากฏว่ารูปแบบการจัดวางแบบจุดมุมร่วมกับแบบจำลองอบเหนียว SA-CPP ได้ผลดีกว่า สามารถลดค่าใช้จ่ายในการขนส่งและใช้ตู้คอนเทนเนอร์ในการบรรจุสินค้าน้อยที่สุด
References
ธัณญธรณ์ ทองริ้ว. (2561). วิธีการทางฮิวริสติกสำหรับปัญหาการจัดเรียงสินค้าลงตู้สินค้า. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
De A.A. and Figueiredo M.B. (2010). A particular approach for the three-dimensional packing problem with additional constraints. Computers and Operations Research. 37(11): 1968-1976.
Hanan M.G., Bryan G.A. and Walid A.K. (2017). Three-dimensional container loading: A simulated annealing approach. International Journal of Applied Engineering Research. 12(7): 1290-1304.
Jens E., Claudio G., Stefano L. and David P. (2010). Heuristics for container loading of furniture. 200: 881-892.
Rao R.L. and Lyengar S.S. (1994). Bin-packing by simulated annealing. International Journal of Applied Engineering Research. 27(5): 71-82.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
Versions
- 08-02-2024 (3)
- 26-04-2021 (2)
- 26-04-2021 (1)
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 วารสารเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื่อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการดีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่หรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรณ์จากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น