ความหลากชนิดของผีเสื้อกลางวันบริเวณห้วยหญ้าเครือ และห้วยพรมแล้ง ในเขตอุทยานแห่งชาติน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์
คำสำคัญ:
ความหลากชนิด, ตัวบ่งชี้ทางชีวภาพ, การอนุรักษ์, อุทยานแห่งชาติบทคัดย่อ
ศึกษาความหลากชนิดของผีเสื้อกลางวัน ในเขตอุทยานแห่งชาติน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยใช้สวิงโฉบเก็บผีเสื้อกลางวันโดยการเดินสำรวจเป็นแนวเส้นตรง (Line-transect) ทำการเก็บตัวอย่างเป็นเวลา 6 เดือน ตั้งแต่เดือนกรกฎาคมถึงธันวาคม พ.ศ. 2556 บริเวณใกล้ลำธารสองสถานี ได้แก่ สถานีห้วยหญ้าเครือ และสถานีห้วยพรมแล้ง ผลการศึกษาพบผีเสื้อกลางวัน 80 ชนิด จัดจำแนกเป็น 52 สกุล 5 วงศ์ ได้แก่ วงศ์ผีเสื้อขาหน้าพู่ (Nymphalidae) พบจำนวนชนิดมากที่สุด คือ 43 ชนิด วงศ์ผีเสื้อสีน้ำเงิน (Lyceanidae) 20 ชนิด วงศ์ผีเสื้อหางติ่ง (Papilionidae) 10 ชนิด วงศ์ผีเสื้อหนอนกะหล่ำ (Pieridae) 6 ชนิด และวงศ์ผีเสื้อบินเร็ว (Hesperiidae) พบจำนวนชนิดน้อยที่สุด คือ 1 ชนิด ตามลำดับ โดยแบ่งออกเป็นชนิดที่พบบริเวณสถานีห้วยหญ้าเครือ 57 ชนิด สถานีห้วยพรมแล้ง 48 ชนิด และพบ 25 ชนิดในทั้งสองสถานี ผลการวิเคราะห์ค่าความคล้ายคลึง (Sorensen similarity index) เท่ากับ 0.47 และสหสัมพันธ์ (Correlation) ระหว่างอุณหภูมิอากาศ และความชื้นสัมพัทธ์ กับจำนวนความหลากชนิดของผีเสื้อกลางวัน เท่ากับ 0.696 และ -0.018 ตามลำดับที่ระดับนัยสำคัญ 0.05
References
พงศ์เทพ สุวรรณวารี. (2553). ความสัมพันธ์ของความหลากหลายของผีเสื้อกลางวันและระบบนิเวศป่าแบบต่าง ๆ ในสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช. รายงานการวิจัย. สาขาชีววิทยา สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี นครราชสีมา.
พิมพ์วดี พรพงศ์รุ่งเรือง, ณัฐวุฒิ ไตรยุทธชัย และธีระวัฒน์ ศรีสุข. (2558). ความหลากชนิดของพืชดอกในป่าชายน้ำบริเวณลำห้วยหญ้าเครือและห้วยพรมแล้ง อุทยานแห่งชาติน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารพฤกษศาสตร์ไทย. 7(2): 97-110.
วัฒนชัย ตาเสน, กอบศักดิ์ วันธงชัย, สาธิต ปิ่นกุล และเดชา วิวัฒน์วิทยา. (2550). ความหลากชนิดของผีเสื้อกลางวันบริเวณอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวนศาสตร์. 26: 12-27.
สุรชัย ชลดำรงค์กุล และชลธร ชำนาญคิด. (2541). การใช้ผีเสื้อกลางวันเป็นดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพของอุทยานแห่งชาติน้ำหนาว. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี. 5: 147-161.
สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ. (2541). หนังสือชุดท่องเที่ยวอุทยาน: อุทยานแห่งชาติน้ำหนาว. พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์สารคดี: กรุงเทพฯ.
ศิริณี พูนไชยศรี. (2547). การเก็บตัวอย่างแมลงเพื่อการศึกษาวิจัย. กลุ่มวิจัยกีฏและสัตววิทยา สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด: กรงเทพฯ.
Alarape A.A., Omifolaji J.K. and Mwansat G.S. (2015). Butterfly species diversity and abundance in university of Ibadan botanical garden, Nigeria. Open Journal of Ecology. 5: 352-360.
Boonvanno K., Watanasit S. and Permkam S. (2000). Butterfly diversity at Ton Nga-Chang wildlife sanctuary, Songkhla Province, Southern Thailand. Science Asia. 26: 105-110.
Ek-Amnuay, P. (2012). Butterflies of Thailand. 2nd Edition. Ammarin Printing and Publishing: Bangkok.
Ghazoul J. (2002). Impact of logging on the richness and diversity of forest butterflies in a tropical dry forest in Thailand. Biodiversity and Conservation. 1: 521–54.
Kemabonta K.A., Ebiyon A.S. and Olaleru F. (2015). The butterfly fauna of three varying habitats in south westhern Nigeria. FUTA Journal of Research in Sciences. 1: 1-6.
Koneri R and Nangoy M.J. (2019). Butterfly community structure and diversity in Sangihe islands, north Sulawesi, Indonesia. Applied Ecology and Environmental Research. 17(2): 2501-2517.
Nuhn R.L. and Reeves P.A. (2523). ผีเสื้อบางชนิดที่พบในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่. แปลจาก Some butterflies of Khao Yai National Park. โดย รจิต บุรี, ประสิทธิ์ บุรี และอรอนงค์ สินจำปาสัก. พิมพ์ครั้งที่ 1. สำนักพิมพ์กรุงเทพเวชสาร: กรุงเทพฯ.
Okamoto S., Tomita M., Choosai C. and Hanboonsong Y. (2013). A study on geographical distribution of Papilionidae in Thailand. Evolutionary Science. 18: 29-42.
Pinratana A. (1981) Butterflies in Thailand, Vol. 4. The Viratham Press: Bangkok.
Pinratana A. (1983) Butterflies in Thailand. Vol 2. The Viratham Press: Bangkok.
Pinratana A. (1985) Butterflies in Thailand. Vol 5. The Viratham Press: Bangkok.
Pinratana A. (1988) Butterflies in Thailand. Vol 6. The Viratham Press: Bangkok.
Pinratana A. (1992) Butterflies in Thailand. Vol 1. The Viratham Press, Bangkok.
Pinratana A. (1996) Butterflies in Thailand. Vol 3. The Viratham Press: Bangkok.
Southwood T.R.E. (1978). Ecological Methods. Methuen & Co. Ltd: London.
Subedi B., Stewart A.B., Neupane B., Ghimire S. and Adhikari H. (2021). Butterfly species diversity and their floral preferences in the Rupa wetland of Nepal. Ecology and Evolution. 11: 2086–2099.
Tiple A.D. and Khurad A.M. (2009). Butterfly species diversity, habitats, and seasonal distribution in and around Nagpur city, central India. World Journal of Zoology. 4(3): 153-162.
Triplehorn C.A. and Johnson N.F. (2005). Study of insects. 7th Edition. Thomson Learning: Singapore.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
Versions
- 19-02-2024 (3)
- 31-12-2021 (2)
- 31-12-2021 (1)
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 วารสารเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื่อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการดีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่หรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรณ์จากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น