หุ่นยนต์เดินตามเส้นสำหรับระบบการจัดการหนังสือห้องสมุด
คำสำคัญ:
หุ่นยนต์เคลื่อนที่ตามเส้น, การจัดการหนังสือ , แบตเตอรี่คงเหลือบทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างหุ่นยนต์เคลื่อนที่ตามเส้นอัตโนมัติเคลื่อนย้ายหนังสือ เพื่อของบุคลากรในการเคลื่อนย้ายหนังสือในห้องสมุด หุ่นยนต์สามารถเคลื่อนที่ได้ในบริเวณพื้นผิวเรียบแนวราบ มี 5 สถานีในการจอดเพื่อรับการจัดการหนังสือระยะทางรวม 200 เมตร ออกแบบหุ่นยนต์ขนาด 30 x 48 x 80 เซนติเมตร ขับเคลื่อน 4 ล้อ พบว่า จำนวนรอบที่เหมาะสมในการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์คือจำนวน 4 รอบ โดยอ้างอิงจาก 70 กิโลกรัม แบตเตอรี่จากการชาร์จประจุเต็มคงเหลือ 8 เปอร์เซ็นต์ น้ำหนัก 50 กิโลกรัม แบตเตอรี่คงเหลือ 10 เปอร์เซ็นต์ น้ำหนักหนังสือ 20 กิโลกรัม แบตเตอรี่คงเหลือ 15 เปอร์เซ็นต์ หุ่นยนต์สามารถตรวจจับสิ่งกีดขวางได้ในระยะ 50 เซนติเมตร และหยุดตามจุดที่กำหนดเป็นระยะเวลา 2 นาที พร้อมทั้งส่งเสียงเตือน ซึ่งช่วยและทำให้งานการจัดเตรียมง่ายขึ้นหนังสือและยังช่วยลดงานประจำของเจ้าหน้าที่ห้องสมุดอีกด้วย
References
บุญธรรม ภัทราจารุกุล (2556). หุ่นยนต์อุตสาหกรรม. ซีเอ็ดยูเคชั่น. กรุงเทพฯ.
ไพฑูรย์ พูลสุขโข และพิเชษฐ กันทะวัง. (2547). ระบบยานขนส่งลำเลียงแบบอัตโนมัติ. วิทยานิพนธ์ปริญญาสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ปทุมธานี.
ยุพราช ชาวยอง. (2553). การศึกษาความเป็นไปได้ในการประยุกต์ใช้รถอัตโนมัติ (AGV) ในการลำเลียงชิ้นส่วนประกอบฮาร์ดดิสก์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรุงเทพฯ.
สรายุทธ นาขมิ้น และณิชนันทน์ ขาวมงคล. (2560). พาหนะขนส่งเคลื่อนที่อัตโนมัติด้วยระบบขับเคลื่อนแบบล้อแมคคานั่ม. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยบูรพา
อภิชาติ พันธ์ชัย. (2551). การควบคุมรถเอจีวีด้วยกล้องไรสาย ระบบนำร่องทางเดินของรถ AGV.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ กรุงเทพฯ.
Chaudhari J., Desai A. and Gavarskar S. (2019). Line following robot using arduino for hospitals. 2nd International Conference on Intelligent Communication and Computational Techniques (ICCT). 330-332.
Fernandes K., Fernandes R., Francis J., Muttu Y., Leitao F. and Bhatt N. (2021). Design and implementation of library management robotic system. IEEE Bombay Section Signature Conference (IBSSC). 1-5.
Luo X. and Xu L. (2020). On research progress and trend of motion control in industrial robot applications. Chinese Automation Congress (CAC). 5944-5947.
Patic P.C., Mainea M., Pascale L. and Mantescu G. (2017). Designing a mobile robot used for access to dangerous areas. International Conference on Control, Artificial Intelligence, Robotics and Optimization (ICCAIRO). 60-65.
Saw K.K. and Mon L.Y. (2019). Design and construction of line following robot using arduino. International Journal of Trend in Scientific Research and Development. 3(4): 939–941.
Tippannavar S.S., Puneeth K.M., Yashwanth S.D., Madhu Sudan M.P., Chandrashekar Murthy B.N. and Vinay Prasad M.S. (2022). SR2 - search and rescue robot for saving dangered civilians at hazardous areas. International Conference on Disruptive Technologies for Multi-Disciplinary Research and Applications (CENTCON). 21-26.
Zhao L., Li Y. and Xu Y. (2022). Analysis of research status and development trend of industrial robot based on knowledge map. International Conference on Automation, Robotics and Computer Engineering (ICARCE). 1-5.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื่อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการดีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่หรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรณ์จากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น