ผลของกระบวนการแช่อิ่มต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาสับปะรดแช่อิ่มอบแห้ง

ผู้แต่ง

  • วิภา ประพินอักษร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์
  • นันทา เป็งเนตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์

คำสำคัญ:

กระบวนการออสโมซิส , สับปะรดแช่อิ่มอบแห้ง, เนื้อสัมผัส , อายุการเก็บรักษา

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของกระบวนการผลิตต่อคุณภาพและอายุการเก็บของสับปะรดแช่อิ่มอบแห้งของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลไม้แปรรูป อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน โดยการนำสับปะรดปัตตาเวียพันธุ์น้ำผึ้งจากแหล่งปลูกในเขตจังหวัดลำปางมาเปรียบเทียบกระบวนการผลิตในขั้นตอนการแช่อิ่มโดยใช้ชนิดของสารละลายและสภาวะในการแช่อิ่มต่างกันจำนวน 6 สิ่งทดลอง ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการผลิตในขั้นตอนการแช่อิ่มที่ผู้ประกอบการเลือกคือ การใช้สารละลายผสมระหว่างน้ำตาลซูโครสร้อยละ 80 กับกลีเซอรอล ร้อยละ 20 และระยะเวลาแช่อิ่มนาน 3 ชั่วโมงที่อุณหภูมิ 40-60 องศาเซลเซียส ได้สับปะรดแช่อิ่มอบแห้งที่มีค่าสี L* สูงที่สุด โดยค่าเท่ากับ 70.44 มีค่าความแข็ง เท่ากับ 4.97 N และปริมาณน้ำอิสระ (aw) เท่ากับ 0.53 ผลการศึกษาอายุการเก็บรักษาที่อุณหภูมิห้อง (30 องศาเซลเซียส) ในถุงพลาสติก PET/LLDPE แบบซิปล็อค พบว่า สับปะรดแช่อิ่มอบแห้งมีอายุการเก็บรักษานาน 7 เดือน หากเก็บรักษานานเกินกว่า 7 เดือน มีผลทำให้สับปะรดแช่อิ่มอบแห้งมีสีเหลืองคล้ำอมน้ำตาล มีกลิ่นของสับปะรดอ่อนลง และเนื้อสัมผัสเหนียวกัดขาดยาก ผลของปริมาณน้ำอิสระและปริมาณความชื้นเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p≤0.05) มีค่าระหว่าง 0.43-0.66 และร้อยละ 4.31-6.87 ตามลำดับ คุณภาพด้านจุลินทรีย์ที่ระยะเวลาการเก็บนาน 8 เดือน พบว่า อยู่ในเกณฑ์ปลอดภัยตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนผักและผลไม้แช่อิ่ม (161/2558)

References

กรรณิการ์ อ่อนสำลี. (2564). การใช้สารฮิวเมกเตนท์ในผลิตภัณฑ์มัลเบอร์รี่กวน. วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร. 15(1): 14-25.

คณิตตา พัฒนาภา และนันทวัน เทอดไทย. (2552). อิทธิพลของสารออสโมซิสต่อคุณภาพของส้มสายน้ำผึ้งแช่อิ่มอบแห้ง. ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47 สาขาอุตสาหกรรมเกษตร 17-20 มีนาคม 2552. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. 688-695.

ณัฐณิชา ทวีแสง. (2560). การศึกษาปริมาณผงฟักข้าวและวิธีการอบแห้งที่เหมาะสมในการผลิตปลาแผ่น. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 25(3): 412-423.

เทคโนโลยีชาวบ้าน. (2565). ชื่อสับปะรดปัตตาเวียเหมือนกัน แต่รสชาติความอร่อยต่างกัน. ค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2566. https://www.technologychaoban.com/agricultural-technology/article_205445.

นิธิยา รัตนาปนนท์. (2545). เคมีอาหาร. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์: กรุงเทพฯ.

นิราศ กิ่งวาที. (2546). การใช้สารดูดความชื้นในการปรับปรุงคุณภาพสับปะรดแช่อิ่มอบแห้ง. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ผกาวดี ภู่จันทร์, ไพรวัลย์ ประมัย, โสรัจ วรชุมอินเกต และอรุณลักษณ์ โชตินาครินทร์. (2566). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผักแผ่นอบกรอบ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. 18(1): 55-67.

พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และนิธิยา รัตนาปนนท์. (2567ก). กลีเซอรอล. ค้นเมื่อ 7 มกราคม 2567. http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/0277/ Glycerol

พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และนิธิยา รัตนาปนนท์. (2567ข). ปฏิกิริยาเมลลาร์ด. ค้นเมื่อ 28 มกราคม 2567. https://www. foodnetworksolution.com/wiki/word/ 0397/maillard-reaction

พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และนิธิยา รัตนาปนนท์. (2567ค). แอคติวิตีของน้ำ. ค้นเมื่อ 7 มกราคม 2567. http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/0277/Water Activity

พริ้มเพรา ตะมะพุฒ, อัจฉราลัย คำฟู และจิรภา พงษ์จันตา. (2555). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวแต๋นหน้าสับปะรดแช่อิ่ม.วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. 35(1): 75-91.

ไพโรจน์ วิริยจารี. (2539). อาหารกึ่งแห้ง. ภาควิชาเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

รุ่งโรจน์ ตับกลาง, บุณฑริกา สุมะนา และวรรณศิริ หิรัญเกิด. (2564). ผลของอุณหภูมิและเวลาทำแห้งต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์กระท้อนแช่อิ่มอบแห้ง. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก. 14(1): 1-11.

รัตนากร แสนทำพล, อภิชาต สุวรรณชื่น และธรรมศาสตร์ จันทรัตน์. (2566). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี้ยวเพื่อสุขภาพจากผักเคลที่เหลือทิ้งของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนพอเพียงก็เพียงพอ จังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. 18(1): 157-172.

วรรณนิดา แสงปัดสา. (2552). การแช่อิ่มอบแห้งมะม่วง (Mangifera Indica Linn.) ที่เหมาะสมโดยใช้สารแทนไบซัลไฟต์และสารดูดความชื้นชนิดต่าง ๆ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเกษตรศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร.

วิไล รังสาดทอง. (2552). เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร. เท็กซ์แอนด์เจอร์นัล พับลิเคชั่น: กรุงเทพมหานคร.

วันไชย คำเสน, อำนาจ ผัดวัง, ชูธง สัมมัตตะ, จิรพนธ์ ทาแกง, พงศกร สุรินทร์, สรายุทธ มาลัยพันธุ์, สุมิตรา สุปินราช,

ณัฏวลิณคล เศรษฐปราโมทย์, ปิยมาสฐ์ ตันฑ์เจริญรัตน์, ชณิชา จินาการ, ปัญจพร ศรีชนาพันธ์ และวิษณุ ช้างเนียม. (2559). การแปรรูปสับปะรดแช่อิ่มอบแห้งด้วยรังสีแสงอาทิตย์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยนเรศวร. 25(2): 122-130.

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. (2558ก). มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ผักและผลไม้แห้ง. เอกสาร มผช.136/2558. ค้นเมื่อ 7 มกราคม 2567. https://tcps.tisi.go.th/public/StandardList.aspx

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. (2558ข). มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ผักและผลไม้แช่อิ่ม. เอกสาร มผช.161/2558. ค้นเมื่อ 7 มกราคม 2567. https://tcps.tisi.go.th/public/StandardList.aspx

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2567). สับปะรดปัตตาเวียปีนี้ คาดว่าให้ผลผลิต 1.380 ล้านตัน ด้านราคายังสดใส ขยับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง. ค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2567. https://www.oae.go.th/view/1/รายละเอียดข่าว/ข่าว%20สศก./44284/TH-TH.

สโรบล สโรชวิกสิต และชัยรัตน์ ตั้งดวงดี. (2554). ผลของอุณหภูมิการอบแห้งและสารช่วยอบแห้งต่อคุณภาพของน้ำสับปะรดผงโดยวิธีอบแห้งแบบพ่นฝอย. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. 34(3): 203-215.

สุธีรา เลิศวุฒิชัยกุล. (2540). การลดเวลาในการผลิตสับปะรดแช่อิ่มอบแห้ง. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชา วิทยาศาสตร์การอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุนัน ปานสาคร, จตุรงค์ ลังกาพินธุ์, ศุภณัฐ พริกบุญจันทร์ และอาทิพัฒน์ ศรีชุมพล. (2563). ผลของความเข้มข้นสารละลายออสโมติกต่อการถ่ายเทมวลสารและคุณภาพของเมล่อนหลังการออสโมซิส. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. 19(2): 132-143.

สุริเชษฐ์ บิลหีม, สรายุทธ ปลุกใจราษฎ์ และสิริมา ชินสาร. (2553). การกำจัดน้ำบางส่วนในสับปะรดด้วยวิธีออสโมซิสโดยใช้สารละลายซูโครส-กลีเซอรอลภายใต้สภาวะสุญญากาศ. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 41(3/1): 41-44.

Ahmed I., Qazi I. M. and Jamal S. (2016). Developments in osmotic dehydration technique for the preservation of fruits and vegetables. Journal of Innovative Food Science and Emerging Technologies. 34: 29–43.

AOAC (2000). Official Methods of Analysis. 17th ed. The Association of Official Analytical Chemists. Maryland: USA.

Bacteriological Analytical Manual (BAM) Online. (2001). BAM Chapter 3 Aerobic Plate Count. Retrieved November 28, 2023. Accessed 7 January 2024. https://www.fda.gov/food/laboratory-methods-food/bam-chapter-3-aerobic-plate-count

Bacteriological Analytical Manual (BAM) Online. (2001). BAM Chapter 18 Yeasts, Molds and Mycotoxins. Retrieved November 28, 2023. Accessed 7 January 2024. https://www.fda.gov/food/laboratory-methods-food/bam-chapter-18-yeasts-molds-and-mycotoxins

Bacteriological Analytical Manual (BAM) Online. (2016). BAM Chapter 12 Staphylococcus aureus. Retrieved November 28, 2023. Accessed 7 January 2024. https://www.fda.gov/food/laboratory-methods-food/bam-chapter-12-staphylococcus-aureus

Bacteriological Analytical Manual (BAM) Online. (2020). BAM Chapter 4 Enumeration of Escherichia coli and the coliform bacteria. Retrieved November 28, 2023. Accessed 7 January 2024. https://www.fda.gov/food/laboratory-methods-food/bam-chapter-4-enumeration-escherichia-coli-and-coliform-bacteria

Chandra S. and Kumari D. (2015). Recent development in osmotic dehydration of fruit and vegetables: A Review. Critical Reviews in Food Science and Nutrition. 55(4): 552-561.

Ferrari C.C. and Hubinger M.D. (2008). Evaluation of the mechanical properties and diffusion coefficients of osmodehydrated melon cubes. International Journal of Food Science & Technology. 43(11):

-2074.

IInternational Organization for Standardization (ISO) Online. (2002). ISO6579 Microbiology of Food and Animal Feeding Stuffs-Horizontal Method for the Detection of Salmonella spp. Retrieved November 28, 2023. Accessed 7 January 2024. https://cdn.standards.iteh.ai/samples/42109/ a683834b409e4b0aad71b39a406f9602/ISO-6579-2002-Amd-1-2007.pdf

Pokharkar S.M. (2001). Kinetic model for osmotic dehydration of green peas prior to air drying. Journal of Food Science and Technology. 38(6): 557–560.

Qiua L., Zhanga M., Tangc J., Adhikarid B. and Cao P. (2019). Innovative technologies for producing and preserving intermediate moisture foods: A review. Food Research International. 116: 90-102.

Quek S.Y., Chok N.K. and Swedlund P. (2007). The physicochemical properties of spray-dried watermelon powders. Chemical Engineering and Processing. 46(5): 386-392.

Rahman M.S. and Lamb J. (1991). Air drying behavior of fresh and osmotically dehydrated pineapple.

Journal of Food Process Engineering. 14: 163-171.

Sagar V.S. and Khurdiya D.S. (1999). Studies on dehydration of dashehari mango slices. Indian Food Packer. 53(1): 5–9.

Salvi M.J. and Rajput J.C. (1995). Pineapple in handbook of fruit science and technology: production composition, storage and processing in Salunkhe D.K. and Kadam S.S. (Eds.). Macel Dekker: New York. 1-6.

Surojanametakul V. (2003). Glycerol: Food additives. Food Journal (Thailand). 33(2): 87-89.

Sacchetti G., Gianotti A. and Dalla R.M. (2001). Sucrose salt combined effect on mass transfer kinetics and product acceptability: Study on apple osmotic treatments. Journal of Food Engineering. 49: 163-73.

Tortoe C. (2010). A review of osmodehydration for the food industry. African Journal of Food Science. 4: 303–324.

เผยแพร่แล้ว

09-04-2025

How to Cite

ประพินอักษร ว. ., & เป็งเนตร์ น. . (2025). ผลของกระบวนการแช่อิ่มต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาสับปะรดแช่อิ่มอบแห้ง. วารสารเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.อีสาน, 6(1), 1–13. สืบค้น จาก https://li01.tci-thaijo.org/index.php/atj/article/view/262590