ผลของการจัดการวัสดุอินทรีย์ต่อความอุดมสมบูรณ์ของดิน การเจริญเติบโต และผลผลิตอ้อย

Main Article Content

เสาวคนธ์ เหมวงษ์
ปัทมา วิยากร

บทคัดย่อ

ดินปลูกอ้อยภาคตะวันออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่เป็นดินทรายความอุดมสมบูรณ์ต ่าประกอบมีการใช้เครื องจักรกลขนาดใหญ่ในการเตรียมดินท่าให้เกิดการย่อยสลายของอินทรียวัตถุในดินให้ลดลงอย่างรวดเร็วท่าให้ดินอัดแน่น การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื อศึกษาผลของการจัดการวัสดุอินทรีย์ต่าง ๆ ต่อความอุดมสมบูรณ์ของดิน การเจริญเติบโต และผลผลิตของอ้อยที ปลูกในระบบข้ามแล้ง โดยปลูกอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 ในสภาพแปลงทดลอง แบ่งออกเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงที 1 เมื ออ้อยอายุ 0-6 เดือนหลังปลูกประกอบด้วย 4 กรรมวิธี โดยวางแผนแบบ RCBD จ่านวน 4 ซ้่า ประกอบด้วย เผาใบอ้อยใบอ้อยคลุมแปลง ขี้เถ้าชานอ้อย และ ถ่านแกลบ และช่วงที 2 เมื ออ้อยอายุ 6 เดือนหลังปลูก – อายุเก็บเกี ยว วางแผนการทดลองแบบ split plot ประกอบด้วย main-plot คือ ชนิดของวัสดุอินทรีย์ (เผาใบอ้อย ใบอ้อยคลุมแปลง ขี้เถ้าชานอ้อยและ ถ่านแกลบ) และ sub-plot คือ การใส่ปุ๋ยเคมี (ไม่ใส่ปุ๋ยเคมี และใส่ปุ๋ยเคมี) การเจริญเติบโตของอ้อยเมื ออายุ 6 เดือนหลังปลูก พบว่า การใส่ขี้เถ้าชานอ้อยท่าให้เพิ มน้่าหนักแห้งใบ น้่าหนักแห้งล่าต้น และน้่าหนักแห้งทั้งหมดของอ้อยสูงสุด(1,556 220 และ1,776 กรัมต่อกอ ตามล่าดับ) อิทธิพลของชนิดวัสดุอินทรีย์ พบว่า การเผาใบอ้อยมีผลท่าให้น้่าหนักสดและน้่าหนักแห้งล่าอ้อย (4.62 และ 2.60 กิโลกรัมต่อกอ) สูงกว่าการใส่วัสดุอินทรีย์อื นๆ แต่ไม่พบความแตกต่างกันต่อความอุดมสมบูรณ์ของดินหลังเก็บเกี ยวอ้อย ผลของการใส่ปุ๋ยเคมีเมื ออ้อยอายุ 6 เดือนหลังปลูก ท่าให้น้่าหนักสด และน้่าหนักแห้งล่าอ้อย (3.65 และ 2.01 กิโลกรัมต่อกอ ตามล่าดับ) สูงกว่าการไม่ใส่ปุ๋ยเคมี (3.05 และ 1.51 กิโลกรัมต่อกอ ตามล่าดับ)นอกจากนี้ การใส่ปุ๋ยท่าให้ค่า pH และ EC ของดินเพิ มขึ้นสูงกว่าการไม่ใส่ปุ๋ย แต่อย่างไรก็ตาม การใส่ปุ๋ยเคมีท่าให้ปริมาณ
Ca และ CEC ในดินลดลงอาจเนื องจากการใส่ปุ๋ยเคมีเร่งการย่อยสลายของอินทรียวัตถุ ดังนั้น คุณภาพของวัสดุอินทรีย์ซึ งผ่านกระบวนการเผาไหม้ (ขี้เถ้าใบอ้อย ขี้เถ้าชานอ้อย และถ่านแกลบ) จะมีความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารสูงในช่วงแรกของการเจริญเติบโตของอ้อยโดยเฉพาะการใส่ขี้เถ้าชานอ้อย แต่มีประสิทธิภาพไม่เพียงพอส่าหรับการให้ผลผลิตที ดีเทียบเท่า
กับการใส่ปุ๋ยช่วงอ้อยเมื ออายุ 6 เดือนหลังปลูก

Article Details

How to Cite
เหมวงษ์ เ. ., & วิยากร ป. . (2021). ผลของการจัดการวัสดุอินทรีย์ต่อความอุดมสมบูรณ์ของดิน การเจริญเติบโต และผลผลิตอ้อย. วารสารเกษตรพระวรุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 16(2), 361 –. https://doi.org/10.14456/paj.2019.13
บท
บทความวิจัย