ผลของอุณหภูมิและเวลาในการทอดสำหรับแขนกลทอดอัตโนมัติ

Main Article Content

คมสัน ตันติชูเกียรติ
อภิชาติ ศรีชาติ
อิทธิพล สิงห์คำ
ชัยยันต์ จันทร์ศิริ
สหัสวรรษ ภูจีระ
ศักรินทร์ วังคะฮาต
กวีพงษ์ หงส์ทองุ
วุฒิพงษ์ ทองแห้ว

บทคัดย่อ

การพัฒนาแขนกลสำหรับทอดอาหารต้นแบบที่ควบคุมด้วยบอร์ด Arduino เพื่อทำการทอดอาหารแทนการใช้คนทอด ในการทดลองใช้อาหารจำนวน 2 ชนิดที่มีลักษณะทางกายภาพแตกต่างกัน คือ เฟรนช์ฟรายส์ และ ปีกบนไก่ ที่อุณหภูมิเท่ากันและน้ำหนักของวัตถุดิบเท่ากัน การทอดที่เหมาะสมโดยกำหนดน้ำหนักวัตถุดิบเริ่มต้น 100 กรัม เท่ากัน กำหนดอุณหภูมิทอด 3 ระดับ 120 140 และ 160 องศาเซลเซียส ตามลำดับ โดยจากการทดลองใช้แขนกลต้นแบบสำหรับทอดอาหาร ในการทอดอาหารโดยการทอดเฟรนช์ฟรายส์ น้ำหนัก 100 กรัม ให้มีความสุกพอดี กรอบ มีสีเหลืองทอง และไม่อมน้ำมัน พบว่าเวลาที่เหมาะสมที่สุดจะเท่ากับ 300 วินาทีหรืออาจจะบวกลบไม่เกิน 30 วินาที ที่อุณหภูมิ 160 องศาเซลเซียส ระยะเวลาคืนทุนใช้เวลาในการขายเฟรนช์ฟรายส์ทั้งสิ้น 8 วัน จึงจะได้ทุนคืนในส่วนของค่าอุปกรณ์และค่าใช้จ่ายอื่นๆ และยังคงเหลือกำไรสุทธิอยู่ที่ 688.48 บาท ในกรณีการทอดปีกบนไก่น้ำหนัก 100 กรัม พบว่าเวลาที่เหมาะสมที่สุดจะเท่ากับ 1200 วินาทีหรืออาจจะบวกลบไม่เกิน 30 วินาที ที่อุณหภูมิ 140 องศาเซลเซียส ระยะเวลาคืนทุนใช้เวลาในการขายไก่ทอดโดยประมาณ 24 วัน จึงจะได้ทุนคืนในส่วนของค่าอุปกรณ์และค่าใช้จ่ายอื่นๆ และยังคงเหลือกำไรสุทธิอยู่ที่ 144.64 บาท ซึ่งมีระยะเวลาคืนทุนที่ค่อนข้างสั้นและสามารถลดค่าใช้จ่ายในส่วนของค่าแรงงานคนประกอบอาหารอีกด้วย

Article Details

How to Cite
ตันติชูเกียรติ ค., ศรีชาติ อ., สิงห์คำ อ., จันทร์ศิริ ช., ภูจีระ ส. ., วังคะฮาต ศ. ., หงส์ทอง ก., & ทองแห้ว ว. . (2024). ผลของอุณหภูมิและเวลาในการทอดสำหรับแขนกลทอดอัตโนมัติ. วารสารเกษตรพระวรุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 21(1), 118–129. https://doi.org/10.14456/paj.2024.13
บท
บทความวิจัย
Author Biography

อภิชาติ ศรีชาติ, สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000

-

References

Arjun V. A., & Khalid, M. (2020). Futuristic model of automatic electric cooking machine. Proceeding of the international conference on power, instrumentation, control and computing (PICC) (pp. 1-6). Thrissur, India, IEEE. doi: 10.1109/PICC51425.2020.9362400

Inagawa, M., Takei, T., & Imanishi, E. (2021). Analysis of cooking recipes written in Japanese and motion planning for cooking robot. ROBOMECH Journal, 8(1), 17. doi: 10.1186/s40648-021-00204-6

Khillare, R., & Ambudkar, B. (2023) Survey of various automated cooking System, Journal of Data Acquisition and Processing, 38(2), 513-519. doi: 10.5281/zenodo.7766374

Kumar, A., Prakash, A., Datta, P., Kumar, R., & Sharma, G. (2019). Automatic cooking machine using Arduino. International Journal of Recent Technology and Engineering, 8(2), 2277-3878.

Lin, C., Pan, Y., Kuo, Y., Chen, C., & Tien, C. (2021). A Study of automatic judgment of food color and cooking conditions with artificial intelligence technology. Accessed September 9, 2023. Retrieved from https://doi.org/10.3390/pr9071128

Liu, H. C. (2019). Design and research of intelligent cooking robot. Beijing, China: Beijing Forestry University.

Livinsa, Z. M., Valantina, G. M., Premi, M. S. G., & Sheeba, G. M. (2021). A modern automatic cooking machine using Arduino Mega and IOT. Journal of Physics: Conference Series. 1770(1), 012027. doi:10.1088/1742-6596/1770/1/012027

Rakshitha, M. J., Madan, G., Prakash, K. R., & Shivaraj, C. S. (2019). Design and development automated food maker. International Research Journal of Engineering and Technology, 6(6), 599-603.

Reema, P., Shewale, A. N., & Patil, C. S. (2016). Automated cooking machine using Programmable Logic Controller (PLC). International journal of Computer Science Trends and Technology, 4(4), 16-18.

Syamsudduha, A. A., Pratiwi, D., Yudistari, A. R., Hindharta, J., & Dewi, A. R. (2013). Future smart cooking machine system design. TELKOMNIKA (Telecommunication Computing Electronics and Control), 11(4), 827. doi:10.12928/telkomnika.v11i4.1207

Takata, K., Kiyokawa, T., Yamanobe, N., Ramirez-Alpizar, I. G., Wan W., & Harada, K. (2022). Graph-based framework on bimanual manipulation planning from cooking recipe. Robotics, 11(6), 123. doi: 10.3390/robotics11060123

Udcharchon, S., (2021). Economic feasibility analysis and risk analysis for waste to energy power plant project investment in Phichit Province (Master’s thesis). Phitsanulok, Thailand: Naresuan University. (in Thai)

Wu, Y. Q., (2017). Study on the key technology of intelligent cooking machine. Xii An, China: Xi’an Polytechnic University.

Yan, W. X., Fu, Z., Liu, Y. H., Liu, R. Q., Zhao, Y. Z., Zhou, X. Y., Tang, J. H., & Yan, P. (2006). A new automatic cooking machine for Chinese dishes. Proceeding of the international conference on automation science and engineering (pp. 534-539). Shanghai, China: IEEE. doi: 10.1109/COASE.2006.326938

Zhang, J., Bao, S., & Luo, B. (2021). Design of a fully automatic intelligent cooking robot. Journal of Physics: Conference Series, 1986, 012101. doi:10.1088/1742-6596/1986/1/012101

Zhu, J. (2014). Intelligent cooking machine and the key technology study. Wuhan, China: Wuhan Institute of Technology