การสังเคราะห์ระดับค่าเซ็นเซอร์ในระบบ IoT เพื่อเฝ้าระวังความผิดปกติของน้ำในกระชังปลานิลผ่านแอปพลิเคชัน

Main Article Content

สามารถ สินทร
ดาศรินทร์พัชร์ สุธรรมดี
ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี
อุมาวดี เดชธำรงค์
ชนัญชิดา ซองผม

บทคัดย่อ

ผลวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ระดับค่าเซ็นเซอร์เฝ้าระวังความผิดปกติน้ำในกระชังปลานิลผ่าน Application ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัย เรื่อง การพัฒนาระบบเฝ้าระวังและควบคุมการเลี้ยงปลาแบบแม่นยำด้วย Internet of Things เพื่อเพิ่มผลผลิตปลานิลกระชังเขื่อนลำประทาว จังหวัดชัยภูมิ ดำเนินการโดยสังเคราะห์ค่าเซ็นเซอร์วัดออกซิเจน อุณหภูมิ กรด-เบสของน้ำที่เปลี่ยนแปลงบ่อยไปสนับสนุนการตัดสินใจกลุ่มผู้เลี้ยงปลานิล ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการสังเคราะห์ระดับค่าเซ็นเซอร์ 3 ชุดในการเฝ้าระวังความผิดปกติของน้ำ ดังนี้ 1.1 ชุดเซ็นเซอร์วัดกรด-ด่าง (pH) ช่วงค่าที่เหมาะสมที่สุด 6.0 ถึง 9.0 pH มีความเหมาะสมมาก ( = 4.20) 1.2 ชุดเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ (°C) ช่วงค่าที่เหมาะสมที่สุด 23°C ถึง 30°C มีความเหมาะสมมากที่สุด ( = 4.80) 1.3 ชุดเซ็นเซอร์วัดออกซิเจนในน้ำ (DO) ค่าที่เหมาะสมคือมากกว่าหรือเท่ากับ 2.5 mg/L มีความเหมาะสมมาก ( = 4.40) 2. ผลการพัฒนา Application แจ้งเตือนเข้ามือถือเกษตรกรหากพบน้ำมีค่าผิดปกติ ดังนี้ 2.1 ตั้งค่าเซ็นเซอร์วัดกรด-ด่าง(pH) ไว้ในระบบ IoT เมื่อพบค่าต่ำกว่า 6.0 หรือค่าสูงกว่า 9.0 pH มีความเหมาะสมมาก ( = 4.40) 2.2 ตั้งค่าเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิ ไว้ในระบบ IoT เมื่อพบค่าต่ำกว่า 23°C หรือค่าสูงกว่า 30°C มีความเหมาะสมมากที่สุด ( = 4.60) 2.3 ตั้งค่าเซ็นเซอร์วัดออกซิเจนในน้ำ (DO) ไว้ในระบบ IoT เมื่อพบค่าน้อยกว่า 2.5 mg/L มีความเหมาะสมมาก ( = 4.20) สรุปได้ว่า องค์ความรู้ที่ได้เป็นค่าเซ็นเซอร์ที่สามารถนำไปใช้ในเทคโนโลยี IoT ในการเฝ้าระวังความผิดปกติกของน้ำผ่าน App บนมือถือไปสนับสนุนการตัดสินใจการป้องกันก่อนที่ปลาน็อคน้ำ ซึ่งจะส่งผลให้ผลผลิตปลามากขึ้นเกิดรายได้เพิ่มขึ้นของเกษตรกร

Article Details

How to Cite
สินทร ส., สุธรรมดี ด. ., สุธรรมดี ฉ., เดชธำรงค์ อ. ., & ซองผม ช. . (2024). การสังเคราะห์ระดับค่าเซ็นเซอร์ในระบบ IoT เพื่อเฝ้าระวังความผิดปกติของน้ำในกระชังปลานิลผ่านแอปพลิเคชัน. วารสารเกษตรพระวรุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 21(1), 146–152. https://doi.org/10.14456/paj.2024.16
บท
บทความวิจัย

References

Afifah, F. N., & Haryatmi, E. (2020). Design and control system monitoring of water quality on Tilapia cultivation farm based Internet of Things (IoT) with NodeMCU. InfoTekJar: Jurnal Nasional Informatika dan Teknologi Jaringan, 4(2), 325-329. doi: 10.30743/infotekjar.v4i2.2398

Ardarsa, P., & Apinantanakon, W. (2021). Development of smart agricultural technology for Tilapia farming by using the internet of things. Journal of MCU Ubon, 6(3), 531-543. (in Thai)

Arreerard, T., & Arreerard, W. (2020). IoT system for humidity and temperature monitoring to promote cultivation of mushrooms in greenhouses to have a complete product. Journal of Applied Information Technology, 6(1), 7-17. (in Thai)

Cherdchu, N., & Chuenta, W. (2019). Increasing the efficiency of shrimp farm management by reducing unnecessary electricity use. Bring benefits and control farming with precision aquatic animal farming technology. Journal of Industrial Technology Ubon Ratchathani Rajabhat University, 9(2), 85-96. (in Thai)

Dissolved Oxygen Sensor. (2024). Cyber Tice. Accessed March 26, 2024. Retrieved from https://www.cybertice.com/product/5073/do-sensor

Huan, J., Li, H., Wu, F., & Cao, W. (2020). Design of water quality monitoring system for aquaculture ponds based on NB-IoT. Aquacultural Engineering, 90, 102088. doi: 10.1016/j.aquaeng.2020.102088

pH Sensor Analog pH Meter. (2024). Arduino Step. Accessed March 26, 2024. Retrieved from http://www.arduinostep.com/product/425/ph-sensor-module

Piakkhunthod, T., Khongphol, W., Chayanugara, S., & Satayavibul., A. (2019). The information system of water management in fish cage farmer, Trang Province by community based participation for water quality monitoring and warning on mobile application. Journal of Multidisciplinary Academic Research and Development (JMARD), 1(4) 51-66. (in Thai)

Sinton, S., & Songphum, C. (2023). Synthesize moisture and develop a highly accurate Reishi mushroom quantity control system with IoT sensor technology to increase mushroom product export entire of Kanchana community enterprise mushroom farm, Chaiyaphum Province. PrawarunAgricultural Journal, 20(1), 98-105. doi: 10.14456/paj.2023.12 (in Thai)

Somchaiwong, N. (2017). Design and construction of an acid-alkaline control system. and dissolved oxygen in Koi pond. Kasalongkham Research Journal Chiang Rai Rajabhat University, 11(3), 327-341. (in Thai)

Vengsungnle, P., Nuboon, T., & Jongpluempiti, J., (2018). Controlling of ultrasonic air humidifier system on the Lingzhi Greenhouse. Proceedings of The 19th national academic conference of the agricultural engineering society (pp. 26-27). Bangkok, Thailand: Thai Socity of Agricultural Engineering. (In Thai)

Waterproof Temperature Sensor. (2024). My Arduino. Accessed March 26, 2024. Retrieved from https://cu.lnwfile.com/_/cu/_raw/eu/by/eq.jpg

Wattanapaiboon, P., & Suwanbon, I. (2019). Driving public policy to increase management effectivenessTilapia business chain. Journal of MCU Peace Studies, 7(1), 224-241. (in Thai)