สำรวจเครื่องหมายไมโครแซทเทลไลท์ และไมโทคอนเดรียล ดีเอ็นเอ ในแพะ 3 สายพันธุ์ของพื้นที่ภาคใต้ประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อสำรวจเครื่องหมายดีเอ็นเอ สำหรับใช้ศึกษาหาความหลากหลายทางพันธุกรรมในแพะพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทยสามสายพันธุ์ คือ แพะเนื้อลูกผสมทรัพย์-ม.อ.1 แพะพื้นเมืองภาคใต้ และแพะแองโกลนูเบียน ซึ่งเก็บตัวอย่างเลือดแพะทั้งหมด 90 ตัว ผลการวิเคราะห์เครื่องหมายไมโครแซทเทลไลท์ 15 ตำแหน่ง
พบสามารถนำมาใช้ศึกษาหาความหลากหลายทางพันธุกรรมได้ 11 ตำแหน่ง และผลการวิเคราะห์ไมโทคอนเดรียล
ดีเอ็นเอ จากการตัดด้วยเอมไซม์ตัดจำเพาะ 3 ชนิด คือ BmrI, ASeI และ FokI พบการตัดด้วยเอมไซม์ตัดจำเพาะ BmrI แสดงจีโนไทป์ 2 รูปแบบ และสำหรับเอมไซม์ตัดจำเพาะ ASeI และ FokI แสดงจีโนไทป์เพียงรูปแบบเดียว
Article Details
บท
Academic Articles
References
1. ปรัชญาพร เอกบุตร. (2550). การจําแนกสายพันธุ์และการตรวจหาเครื่องหมายดีเอ็นเอของไก่พื้นเมืองโดยใช้เครื่องหมายไมโครแซทเทลไลท์. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัญฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
2. พัชรี หมื่นอินกูด และ กิตติพัฒน์ อุโฆษกิจ. (2561). การพัฒนาเครื่องหมาย ILP จากยีนที่เกี่ยวข้องกับลักษณะทางลำต้นในอ้อย เพื่อศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมและโครงสร้างทางพันธุกรรมในอ้อย. ว. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 26: 1162-1175.
3. หทัยรัตน์ อุไรรงค์ และ ณัฐหทัย เอพาณิช. (2548). การวิจัยลายพิมพ์ดีเอ็นเอของพันธุ์ข้าวไทย. หนังสือราบงานผลงานวิจัยประจำปี 2548 สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ กรมวิชาการเกษตร. น.1-27.
4. หนึ่งฤทัย พรหมวาที, มนต์ชัย ดวงจินดา, วุฒิไกร บุญคุ้ม และบัญญัติ เหล่าไพบูลย์. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างจุดกลายพันธุ์ (SNPs) ของยีน GHSR, IGFI, cGH และ IGFBP2 ต่อการเจริญเติบโตในไก่พื้นเมืองไทย (ชีและประดู่หางดำ). ว. แก่นเกษตร. 39: 261 – 270.
5. Aljumaah, R. S., Musthafa, M. M., Al-Shaikh, M. A., Badri, O. M., & Hussein, M. F. (2012). Genetic diversity of Ardi goat based on microsatellite analysis. African Journal of Biotechnology, 11(100), 16539-16545.
6. Bolormaa, S., Ruvinsky, A., Walkden-Brown, S., & Van der Werf, J. (2008). Genetic relationships among Australian and Mongolian fleece-bearing goats. Asian-Australasian Journal of Animal Sciences, 21(11), 1535-1543.
7. El-Sayed, M., Al-Soudy, A., & El Badawy, A. (2016). Microsatellite markers Polymorphism between two Egyptian goat populations (Capra hircus). Egyptian Journal of Genetics and Cytology, 45(1), 89-103.
8. Jayashree, R., Jayashankar, M. R., Nagaraja, C. S., Shrikrishna, I., & Satyanarayana, K. (2019). Genetic characterization of local goats of Karnataka by microsatellite marker analysis1. Indian Journal of Animal Research, 53(1), 19-23.
9. Liu, R. Y., Lei, C. Z., Liu, S. H., & Yang, G. S. (2006). Genetic diversity and origin of Chinese domestic goats revealed by complete mtDNA D-loop sequence variation. Asian-Australasian Journal of Animal Sciences, 20(2), 178-183.
10. Mahmoud, A. H., Farah, M. A., Rady, A., Alanazi, K. M., Mohammed, O., Amor, N., & Alarjani, K. M. (2020). Molecular characterization of goats from Saudi Arabia using microsatellite markers. Journal of King Saud University-Science, 32(2), 1681-1686.
11. Oka, I. G. L., Yupardhi, W. S., Mantra, I. B., Suyasa, N., & Dewi, A. A. S. (2011). Genetic relationship between gembrong goat, kacang goat and kacang x etawah crossbred (PE) based on their mitochondrial DNA. Journal of Veterinary Medical Science, 12(3), 180-184.
12. Seilsuth, S., Seo, J. H., Kong, H. S., & Jeon, G. J. (2016). Microsatellite analysis of the genetic diversity and population structure in dairy goats in Thailand. Asian-Australasian journal of animal sciences, 29(3), 327.
2. พัชรี หมื่นอินกูด และ กิตติพัฒน์ อุโฆษกิจ. (2561). การพัฒนาเครื่องหมาย ILP จากยีนที่เกี่ยวข้องกับลักษณะทางลำต้นในอ้อย เพื่อศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมและโครงสร้างทางพันธุกรรมในอ้อย. ว. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 26: 1162-1175.
3. หทัยรัตน์ อุไรรงค์ และ ณัฐหทัย เอพาณิช. (2548). การวิจัยลายพิมพ์ดีเอ็นเอของพันธุ์ข้าวไทย. หนังสือราบงานผลงานวิจัยประจำปี 2548 สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ กรมวิชาการเกษตร. น.1-27.
4. หนึ่งฤทัย พรหมวาที, มนต์ชัย ดวงจินดา, วุฒิไกร บุญคุ้ม และบัญญัติ เหล่าไพบูลย์. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างจุดกลายพันธุ์ (SNPs) ของยีน GHSR, IGFI, cGH และ IGFBP2 ต่อการเจริญเติบโตในไก่พื้นเมืองไทย (ชีและประดู่หางดำ). ว. แก่นเกษตร. 39: 261 – 270.
5. Aljumaah, R. S., Musthafa, M. M., Al-Shaikh, M. A., Badri, O. M., & Hussein, M. F. (2012). Genetic diversity of Ardi goat based on microsatellite analysis. African Journal of Biotechnology, 11(100), 16539-16545.
6. Bolormaa, S., Ruvinsky, A., Walkden-Brown, S., & Van der Werf, J. (2008). Genetic relationships among Australian and Mongolian fleece-bearing goats. Asian-Australasian Journal of Animal Sciences, 21(11), 1535-1543.
7. El-Sayed, M., Al-Soudy, A., & El Badawy, A. (2016). Microsatellite markers Polymorphism between two Egyptian goat populations (Capra hircus). Egyptian Journal of Genetics and Cytology, 45(1), 89-103.
8. Jayashree, R., Jayashankar, M. R., Nagaraja, C. S., Shrikrishna, I., & Satyanarayana, K. (2019). Genetic characterization of local goats of Karnataka by microsatellite marker analysis1. Indian Journal of Animal Research, 53(1), 19-23.
9. Liu, R. Y., Lei, C. Z., Liu, S. H., & Yang, G. S. (2006). Genetic diversity and origin of Chinese domestic goats revealed by complete mtDNA D-loop sequence variation. Asian-Australasian Journal of Animal Sciences, 20(2), 178-183.
10. Mahmoud, A. H., Farah, M. A., Rady, A., Alanazi, K. M., Mohammed, O., Amor, N., & Alarjani, K. M. (2020). Molecular characterization of goats from Saudi Arabia using microsatellite markers. Journal of King Saud University-Science, 32(2), 1681-1686.
11. Oka, I. G. L., Yupardhi, W. S., Mantra, I. B., Suyasa, N., & Dewi, A. A. S. (2011). Genetic relationship between gembrong goat, kacang goat and kacang x etawah crossbred (PE) based on their mitochondrial DNA. Journal of Veterinary Medical Science, 12(3), 180-184.
12. Seilsuth, S., Seo, J. H., Kong, H. S., & Jeon, G. J. (2016). Microsatellite analysis of the genetic diversity and population structure in dairy goats in Thailand. Asian-Australasian journal of animal sciences, 29(3), 327.