The environmental management of the project of refuse derived fuel (RDF) case study: Kaeng Hang Maeo subdistrict administrative organization, Chanthaburi province

Main Article Content

Jakkapan Potipat

บทคัดย่อ

การจัดการสิ่งแวดล้อมของโครงการจัดการขยะเพื่อผลิตเป็นเชื้อเพลิงกำหนดขอบเขตการวิจัยเป็น 2 ประเด็นคือ การศึกษาจัดการมูลฝอยและการจัดการน้ำเสีย  ดำเนินการเก็บข้อมูลการคัดแยกจากชุมชนจำนวน 22 ชุมชน และทำการเก็บตัวอย่างน้ำเสียแบบจ้วงในระบบบำบัดน้ำเสียแบบบ่อผึ่ง ตั้งแต่เดือนมกราคม 2563 ถึง กันยายน 2563 วิเคราะห์ตัวบ่งชี้คุณภาพน้ำทั้งหมด 7 ตัวชี้วัด ได้แก่ อุณหภูมิ  พีเอช  ค่าการนำไฟฟ้า  ปริมาณของแข็งละลายน้ำ  ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ำ  บีโอดีและซีโอดี ผลการศึกษาการคัดแยกองค์ประกอบของมูลฝอยพบขยะทั่วไปสูงที่สุดเท่ากับร้อยละ 61 รองลงมาคือ ขยะอินทรีย์  ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย เท่ากับร้อยละ 24, 14 และ 1 ตามลำดับ ผลการติดตามตรวจสอบการจัดการคุณภาพน้ำเสียชี้ให้เห็นว่าการบำบัดน้ำเสียแบบบ่อผึ่งไม่สามารถลดความสกปรกจากสารอินทรีย์ได้โดยพบค่าบีโอดีและซีโอดีสูงและมีค่าเกินเกณฑ์มาตรฐานน้ำทิ้ง

Article Details

บท
Original Articles

References

1. อรทัย เชื้อวงษ์, ไพบูลย์ ประพฤติธรรม อรอนงค์ ผิวนิล. บทบาทของอนุภาคดินเหนียวที่มีผลต่อการย่อยสลายและการกักเก็บสารอินทรีย์คาร์บอนจากน้ำชะขยะในระบบดินประยุกต์บำบัดน้ำเสีย.วารสารเกษตรพระจอมเกล้า 2561; 36(1): 50-59.
2. วสันต์ ปิเตนะ, ดวงกมล ดังโพนทอง. การผลิตเชื้อเพลิง RDF-5 จากขยะชุมชน : กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. วารสารวิชาการ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง 2559; 9(1): 72-86.
3. กรมควบคุมมลพิษ. สรุปสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2561. กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัด ส.มงคลการพิมพ์. 2562.
4. กรมควบคุมมลพิษ. หลักเกณฑ์และเอกสารวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการมูลฝอยและของเสียอันตราย. กรุงเทพมหานคร : สำนักจัดการกากของเสียและสารอันตราย. 2557.
5. เอื้อมพร หลินเจริญ. เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ. วารสารวัดผลการศึกษามหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2555; 17(1): 17-29.
6. ไมตรี ดวงสวัสดิ์ จารุวรรณ สมศิริ. คุณสมบัติของน้ำและวิธีวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางการประมง. กรุงเทพมหานคร: กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. ม.ป.ป.
7. นิพนธ์ ตังคณานุรักษ์ คณิตา ตังคณานุรักษ์. หลักการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทางเคมี. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2550.
8. ไพโรจน์ ไพบูลย์โรจน์รุ่ง. การจัดทำแผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดจันทบุรี (ระยะ 5 ปี พ.ศ. 2558 – 2562). จันทบุรี : สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดจันทบุรี. 2560.
9. ตาลิศา เนียมมณี. กระบวนการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาขยะโดยการผลิตอินทรีย์สารเพื่อการเกษตรของชุมชนบางนางลี่ จังหวัดสมุทรสงคราม. กรุงเทมหานคร : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 2554.
10. Butler E, Hung YT, Al Ahmad S, Yeh RYL, Liu RLH, Fu YP. Oxidation pond for municipal wastewater treatment. Applied Water Science 2017; 7(1): 31-51.
11. Wakode PN, Sayyad SU. Performance evaluation of 25MLD sewage treatment plant (STP) at Kalyan. American Journal of Engineering Research 2014; 3(3): 310-316.
12. Colmenarejo MF, Rubio A, Sánchez E, Vicente J, García MG, Borja R. Evaluation of municipal wastewater treatment plants with different technologies at Las Rozas, Madrid (Spain). Journal of Environmental Management 2006; 81: 399-404.
13. Sudarsan JS, Roy RL, Baskar G, Deeptha VT, Sithiyanantham S. Domestic wastewater treatment performance using constructed wetland. Sustainable Water Resources Management 2015; 1(2): 89-96.
14. Sukumaran D, Saha R, Saxena RC. (2015). Performance evaluation of prevailing biological wastewater treatment systems in West Bengal, India. Applied Ecology and Environmental Science 2015; 3(1): 1-4.
15. สันชัย พรมสิทธิ์. การจัดการขยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขนาดใหญ่ กลาง เล็ก ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2562; 9(1): 67-81.
16. ปิยะรักษ์ ประดับเพชรรัตน์ สุชาติ นวกวงษ์
สยาม อรุณศรีมรกต ไกรชาติ ตันตระการอาภา. ศักยภาพในการลดปริมาณขยะชุมชนจากโครงการขยะรีไซเคิล. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม 2553; 6(2): 54-66.
17. นฤมล ประดิษฐ์เสรี. การบำบัดน้ำชะขยะจากหลุมฝังกลบด้วยวิธีเฟนตัน. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโลยีและการจัดการสิ่งแวดล้อม. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2556.
18. ปวาฬ สีชมภู. การกำจัดซีโอดีและสีของน้ำชะขยะจากหลุมฝังกลบกากของเสียอันตรายโดยวิธีการทางเคมีและกายภาพ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม. คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2554.
19. จักรพันธ์ โพธิพัฒน์. เคมีสิ่งแวดล้อม. จันทบุรี: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี. 2560.