เบิร์ทซิม: สื่อจำลองสถานการณ์ภาวะฉุกเฉินการคลอดติดไหล่
Main Article Content
บทคัดย่อ
การคลอดติดไหล่เป็นภาวะฉุกเฉินระหว่างการทำคลอดที่ต้องอาศัยความเข้าใจกลไกภายในของภาวะดังกล่าวเป็นอย่างดี แต่สื่อในปัจจุบันไม่สามารถนำเสนอภายในร่างกายระหว่างการคลอดได้ บทความนี้จึงนำเสนอขั้นตอนการพัฒนาสื่อจำลองสถานการณ์ภาวะฉุกเฉินของการคลอดติดไหล่ซึ่งมีชื่อเรียกว่าเบิร์ทซิม โดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสมือน ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์จำนวน 35 คน อยู่ในระดับมาก โดยด้านเนื้อหา มีความพึงพอใจสื่อนำเสนอเนื้อหาสอดคล้องกับเนื้อหาวิชา, ด้านเทคโนโลยี นักศึกษามีความพึงพอใจเทคนิควิธีการนำเสนอน่าสนใจ, ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์ มีความพึงพอใจสื่อช่วยกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ และสื่อช่วยเสริมสร้างทักษะการตัดสินใจแก้ปัญหา, ด้านความคิดเห็นต่อสื่อมีความพึงพอใจสื่อมีความทันสมัย และแปลกใหม่แตกต่างไปจากการเรียนปกติ และด้านส่วนประกอบของสื่อมีความพึงพอใจการจัดวางองค์ประกอบศิลป์ แสดงให้เห็นว่าเบิร์ทซิมสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการเรียนของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะ ทบทวนหลักการที่ถูกต้องทำให้เกิดความมั่นใจ และสามารถนำความรู้และทักษะไปใช้ในการฝึกปฏิบัติงานจริง
Article Details
References
ณัฏจิรา วินิจฉัย , กชกร เพียซ้าย และพรสิงห์ นิลผาย . (2564). ผลของการจัดการเรียนรู้ด้วยโปรแกรม Simulation ฉีดยา ต่อความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปี ที่ 2 . วารสารการพยาบาลและสุขภาพ , 15(1) , 1-11.
จัณทร์ปภัสร์ เครือแก้ว และคณะ. (2558). รูปแบบการจัดการเรียนการสอนรายวิชาผดุงครรภ์สำหรับนักศึกษาพยาบาล เพื่อเตรียมสอบ ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ . วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ , 10(1) , 13-26 .
ชญาภรณ์ เอกธรรมสุทธิ์ และเกสร สุวิทยะศิริ . (2560). การสร้างความรู้ผ่านทักษะการแก้ปัญหา. วารสารวิทยาลัยบรมราชชนนี กรุงเทพ. 33(1). 177-183.
เอกรัฐ หล่อพิเชียร . (2560). การใช้สื่อการเรียนรู้ความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality) เรื่อง โปรโตคอล TCP/IP เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาวิชาการสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษาคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี . การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 9 "ราชมงคลสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ยั่งยืนสู่ประเทศไทย 4.0" (Creative RMUT and Sustainable Innovation for Thailand 4.0).
ภัทรวิท สรรพคุณ , พีรยศ ภมรศิลปะธรรม และลาวัลย์ ศรัทธาพุทธ. (2557). เกมการศึกษาด้านการแพทย์และสุขภาพ . ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ , 9(2) . 82-87 .
ภัทราวดี วงศ์สุเมธ . (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับ และการใช้งานระบบการเรียนผ่านเว็บ .วารสารนักบริหาร , 33(3) . 3-10.
สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2547). การวัดและประเมินแนวใหม่ : เด็กปฐมวัย.กรุงเทพฯ: ภาควิชาหลักสูตร และการสอน สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Todd P. Chang, & Debra Weiner. (2016). Screen-Based Simulation and Virtual Reality for Pediatric Emergency Medicine. Clinical Pediatric Emergency Medicine, 17(3). 224-230.
Ann L. Butt, Suzan Kardong-Edgren & Anthony Ellertson. (2018). Using Game-Based Virtual Reality with Haptics for Skill Acquisition. Clinical Simulation in Nursing, 16. 25-32.
Margaret Verkuyl, Daria Romaniuk, Lynda Atack & Paula Mastrilli. (2017). Virtual Gaming Simulation for Nursing Education an Experiment. Clinical Simulation in Nursing, 13. 238-244.
Sabha Ganai, Joseph A. Donroe, Myron R. St. Louis, Giavonni M. Lewis & Neal E. Seymour. (2007). Virtual-reality training improves angled telescope skills in novice laparoscopists. The American Journal of Surgery, 193(2). 260-265.
Sharon L Farra, Sherrill J Smith & Deborah L Ulrich. (2018). The Student Experience with Varying Immersion Levels of Virtual Reality Simulation. Nursing Education Perspectives, 39(2). 99-101.
Sherrill J Smith, Sharon L Farra, Deborah L Ulrich, Eric Hodgson, Stephanie Nicely & Angelia Mickle. (2018). Effectiveness of Two Varying Levels of Virtual Reality Simulation. Nursing Education Perspectives, 39(6). 10-15.
Sherrill J Smith, Sharon Farra, Deborah L Ulrich, Eric Hodgson, Stephanie Nicely & William Matcham. (2016). Learning and Retention Using Virtual Reality in a Decontamination Simulation. Nursing Education Perspectives, 37(4). 210-214.
Jessica Williams, Donovan Jones & Rohan Walker. (2018). Consideration of using virtual reality for teaching neonatal resuscitation to midwifery students. Nurse Education in Practice, 31. 126-129.
Dale C Alverson, Stanley M Saiki Jr, Summers Kalishman, Marlene Lindberg, Stewart Mennin, Jan Mines, Lisa Serna, Kenneth Summers, Joshua Jacobs, Scott Lozanoff, Beth Lozanoff, Linda Saland, Steven Mitchell, Berthold Umland, Gordon Greene, Holly S Buchanan, Marcus Keep, David Wilks, Diane S Wax, Robert Coulter, Timothy E Goldsmith & Thomas P Caudell. (2008). Medical students learn over distance using virtual reality simulation. Simulation in Healthcare: The Journal of the Society for Simulation in Healthcare. 3(1). 10-15.
Shi Chen, Jiawei Zhu, Cheng Cheng, Zhouxian Pan, Lingshan Liu, Jianhua Du, Xinhua Shen, Zhen Shen, Huijuan Zhu, Jihai Liu, Hua Yang, Chao Ma, Hui Pan (2020). Can virtual reality improve traditional anatomy education programmes? A mixed-methods study on the use of a 3D skull model. BMC Med Educ. 2020 Oct 31;20(1):395.
Helen Berg, Aslak Steinsbekk. Is individual practice in an immersive and interactive virtual reality application non-inferior to practicing with traditional equipment in learning systematic clinical observation? A randomized controlled trial. BMC Med Educ. 2020 Apr 22;20(1):123.