การสกัดเพคตินจากเปลือกเสาวรสสีม่วงด้วยกรดผลไม้ภายใต้สภาวะที่เหมาะสม
Main Article Content
บทคัดย่อ
เพคตินเป็นสารประกอบพอลิเมอร์ประเภทเฮเทอโรพอลิแซคคาไรด์ที่มีอยู่ในผนังเซลล์ของพืชทำ หน้าที่ในการยึดเหนี่ยวเซลล์
เข้าด้วยกันโดยมีคุณสมบัติพิเศษคือ เมื่อละลายน้ำ จะพองตัวเป็นเจลทำ หน้าที่เป็นสารก่อสภาพเจลและเป็นสารให้ความข้นหนืด
โดยเฉพาะในแยมและเยลลี่ตลอดจนเป็นแหล่งของใยอาหาร งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสกัดเพคตินจากเปลือกเสาวรส
สีม่วงและหาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดเพคตินด้วยกรดผลไม้โดยใช้น้ำ มะกรูดเทียบกับน้ำ มะนาวแป้นพิจิตร และน้ำส้มซ่า ผล
การทดลองพบว่าร้อยละผลได้ของเพคตินที่ คือ 12.74%, 11.92% และ 10.82% ตามลำ ดับ ชนิดของเพคตินที่ได้จากการสกัด
จากกรดผลไม้ทั้ง 3 ชนิด เป็นเพคตินที่มีเมทอกซิลต่ำ (Low methoxyl pectin, LMP) การหาสภาวะที่เหมาะของการสกัดด้วยน้ำ
มะกรูด 100% ด้วยพื้นผิวตอบสนองที่ออกแบบการทดลองแบบ Box-Behnken Design (BBD) พบว่าที่สภาวะเวลาในการสกัด
120 นาที อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซียส และอัตราส่วนของน้ำ มะกรูดต่อผงเพคติน (L:S) คือ 15:1 มิลลิลิตรต่อกรัม ให้ปริมาณ
ร้อยละผลได้ (%Yield) ของเพคตินสูงที่สุดถึง 12.81% การออกแบบการทดลองสามารถนำ ไปใช้เป็นแนวทางในการสกัดเพคติน
จากเปลือกผลไม้อื่นๆ ได้
Article Details
References
ชวนิฎฐ์ สิทธิดิลกรัตน์, พิลาณี ไวถนอมสัตย์ล จิราพร เชื้อกูล และปริศนา สิริอาชา. (2548). การผลิตเพคตินจากเปลือกและกากผลส้มเหลือทิ้ง. [วิทยานิพนธ์]. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
ธานุวัฒน์ ลาภตันศุภผล, ปฏิมา ทองขวัญ และศิริลักษณ์ สรงพรมทิพย์. (2556). การสกัดเพคตินจากเปลือก ผัก และผลไม้. [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
พงษ์เสริฐ ศรีพรหม กญั ญารัตน์ เกิดศิริ พรสวรรค์ อัศวแสงรัตน์ และ ปธานิน แสงอรุณ. (2561).การหาสภาวะที่เหมาะสมของการสกัดเพคตินจากเปลือกทุเรียนด้วยน้ำส้มสายชู. วิศวสารลาดกระบัง ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 – 4 กันยายน – ธันวาคม.
สุรีวัลย์ สิมชาติ สุภาวิตา บุดดาเวียง นิภาพร พลเยี่ยม และ วัฒนา อัจฉริยะโพธา. (2562). การสกัดเพคตินจากเปลือกส้มซ่าเพื่อผลิตแยมส้มซ่า. การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 7, วันศุกร์ที่ 7 มิถุนายน. มหาวิทยาลัยรังสิต.
อรพิน ภูมิภมร. (2523). คาร์โบไฮเดรตในสารอาหารพอลีแซ็คคาไรด์. [วิทยานิพนธ์]. มหาวิทยาลัยเกษตร- ศาสตร์. กรุงเทพฯ.
Adetunji L.R., Adekunle A., Orsat V., and Raghavan V., (2007). Advances in the pectin production process using novel extraction techniques: A review, Food Hydrocolloids vol 62,. pp. 239-250.
Happi Emaga, T.; Robert, C., Ronkart, S.N., Wathelet, B. and Paquot, M., (2008). Dietaryfibre components and pectin chemical features of peels during ripening in banana andplantain varieties. Bioresource Technology, 99, pp. 4346—4354.
Kurita O., Fujiwara T., and Yamazaki E., (2008). Characterization of the pectin extracted from
citrus peel in the presence of citric acid,
Carbohydrate Polymer. vol 74, pp. 725-730.
Prakash Maran J., (2015). Statistical optimization of
aqueous extraction of pectin from waste durian
rinds, International Journal of Biological
Macromolecules vol 73, pp. 92–98.
Shaha R.K., Nayagi A.P.Y., (2013). Punichelvana and Afandi A., Optimized extraction condition and characterization of pectin from kaffir lime (Citrus hystrix), Research Journal of Agriculture and forestry Sciences vol1(2), pp. 1-11.
Ström A., Ribelles P., Lundin L., Norton I., Morris E.R. and Williams A.K., (2007). Influence of pectin fine structure on the mechanical properties of calcium-pectin and acid-pectin gels. Biomacromolecules vol.8, pp. 2668–2674.
Sukboonyasatit D., Pornnikom N. and Natyay N., (2018). Chemical and physical properties of pectin from okra, Khon Kaen Agriculture Journal, vol 48, pp. 419-1422.
Wai W.W., Alkarkhi F.M.A. and Easa A.M., (2010).
Effect of extraction conditions on yield and
degree of esterification of durian rind pectin : An experimental design, food and bioproducts
processing vol 88, pp. 209–214.
Wilaiwan O. and Choojun S., (2554). Application of pectin crude extracts from Krung Kha Mao leaves (Cissampelos pareira L.) to immobilized cells of Lactobacillus casei subsp. rhamnosus TISTR 108 and Lactobacillus delbrueckii subsp. Bulgaricus TISTR 1339 for lactic acid production, Proceedings of 48th Kasetsart University Annual Conference: Science, Kasetsart University.
Wittayapapakorn S. and Taweekasemsombat S., (2013). The optimum conditions of extracting pectin from agricultural materials. Research Journal Special Issue the 5th Rajamangala University of Technology National Conference: Science, Rajamangala University of Technology.
Yapo, B.M. and Koffi, K. L.. (2006). Yellow passion fruit rind—A potential source of low-methoxyl pectin. Journal of Agriculture and Food Chemistry, 54, Pp.2738-2744. http://dx.doi.org/10.1021/jf052605q