การพัฒนาน้ำมังคุดผสมเปลือกทุเรียนผง

Main Article Content

จิรพร สวัสดิการ
เดือนรุ่ง เบญจมาศ
หยาดรุ้ง สุวรรณรัตน์

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ เพื่อผลิตเปลือกทุเรียนผงและนำ ไปใช้ในผลิตภัณฑ์น้ำ มังคุด เปลือกทุเรียนผงเตรียมโดยลวกเปลือก ทุเรียนในน้ำ กลั่น อัตราส่วนระหว่างเปลือกทุเรียนต่อน้ำ กลั่น เท่ากับ 1:1 (น้ำ หนักต่อปริมาตร) ที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 5 นาที อบแห้งด้วยตู้อบลมร้อน และคำ นวณปริมาณผลผลิต ซึ่งมีค่าปริมาณผลผลิตเท่ากับร้อยละ 11.46 ค่าสีของผง เปลือกทุเรียนวัดโดยใช้ระบบ L* a* b* ซึ่งมีค่าเท่ากับ 68.86, 8.52 และ 16.87 ตามลำ ดับ เมื่อวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี ของเปลือกทุเรียนผง พบว่ามีค่าความชื้นร้อยละ 9.30 โปรตีนร้อยละ 6.13 ไขมันร้อยละ 0.55 เถ้าร้อยละ 4.63 และ เส้นใยร้อยละ 41.70 เมื่อนำ เปลือกทุเรียนผงมาผสมในน้ำ มังคุดที่ระดับต่างๆ ได้แก่ ร้อยละ 0, 1, 2 และ 3 โดยน้ำ หนัก เมื่อเพิ่มปริมาณเปลือก ทุเรียนผง ค่าสี L* a* b* ปริมาณของแข็งที่ละลายได้ทั้งหมด และค่าความหนืดของน้ำ มังคุดเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ประเมินคุณภาพ ทางประสาทสัมผัส โดยการทดสอบความชอบ 9 ระดับ ต่อคุณภาพด้านลักษณะปรากฏ สี กลิ่นรส รสชาติ เนื้อสัมผัส และ ความชอบโดยรวม พบว่าค่าคะแนนความชอบเฉลี่ยจะลดลง เมื่อเปลือกทุเรียนผงเพิ่มขึ้น โดยปริมาณที่เหมาะสมในการเสริม เปลือกทุเรียนผงในน้ำ มังคุดเท่ากับร้อยละ 1 โดยน้ำ หนัก เปลือกทุเรียนผงซึ่งเป็นแหล่งใยอาหาร สามารถนำ ไปใช้ในผลิตภัณฑ์ เครื่องดื่ม และเป็นการใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทุเรียนเพื่อเพิ่มมูลค่า


 

Article Details

บท
Original Articles

References

กุลนิภา ธนรุ่งรังสี, ณัฎฐา เลาหกุลจิตต์ และอรพิน เกิดชูชื่น.(2557). การสกัดเส้นใยอาหารจากเปลือกข้าว. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 45 (2) (พิเศษ), 1-4.

กุลพร พุทธมี และศรายุทธ์ จิตรพัฒนากุล. (2560). การเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการของข้าวเกรียบหอยนางรมด้วยเส้นใยอาหารจากเปลือกทุเรียน กลุ่มหอยนางรมครบวงจรคุ้งกระเบน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ. วารสารวิจัยรำไพพรรณี,11 (3), 13-22.

เจตนิพัทธ์ บุณยสวัสดิ์ และจักราวุธ ภู่เสม. (2561). ผลของการใช้เปลือกทุเรียนผงทดแทนแป้งข้าวสาลีต่อคุณภาพของเค้กบราวนี. วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร,12 (1), 113-124.

นรินทร์ เจริญพันธ์ และวิยดา กวานเหียน. (2560). ผลของแป้งจากเศษเหลือทิ้งของทุเรียนต่อคุณภาพของพาสต้าปราศจากกลูเตน.http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/bitstream/handle/1234567890/3525/2562_069.pdf?sequence=3&isAllowed=y.

ปรอยฝน เลิศวนวัฒนา และนภาพร เชี่ยวชาญ. (2551).พฤติกรรมการไหลของน้ำ สับปะรดผสมใยอาหารผงจากกากมะนาว. วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., 31 (3),

-511.

ประสาน สวัสดิ์ซิตัง. (2538). การเกิดสีน้ำ ตาลของอาหารและการควบคุมป้องกัน. วารสารอาหาร, 25 (3), 160-169.

ศุภมาศ กลิ่นขจร, นารีรัตน์ สุนทรธรรม, พัจนา สุภาสูรย์ และสุปรียา ศุขเกษม. (2558). การผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพจากน้ำ มังคุด. วารสารวิชาการเกษตร, 33 (2),190-204.

โศรดา วัลภา, กุลรภัส วชิรศิริ, ดำ รงชัย สิทธิสำอาง และฐิติชญา สุวรรณทัพ. (2553). ผลของการเสริมใยอาหารจากเปลือกทุเรียนต่อคุณภาพของขนมปังขาว. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 40 (3), 205-208.

สำ นักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2563). ทุเรียน: เนื้อที่ยืนต้น เนื้อที่ให้ผล ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ปี 2563. https:// www.oae.go.th/assets/ portals/1/fileups/prcaidata/ files/durian63.pdf

หยาดฝน ทะนงการกิจ. (2556). การใช้ประโยชน์จากเศษ ผักผลไม้เหลือทิ้งเพื่อผลิตเป็นใยอาหารผง. วารสาร เทคโนโลยีการอาหาร มหาวิทยาลัยสยาม, 9 (1), 31-38.

หยาดรุ้ง สุวรรณรัตน์, จิรพร สวัสดิการ, ปารณีย์ สร้อยศรี และคมสัน มุ่ยสี. (2560). สมบัติทางกายภาพและความ สามารถในการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระของใยอาหาร จากเปลือกทุเรียน. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุม สัมมนาวิชาการ, บูรณาการงานวิจัยสู่การพัฒนาท้องถิ่น ที่ยั่งยืน. การนำ เสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครือข่าย บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 17 (หน้า2279-2287).มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.

หยาดรุ้ง สุวรรณรัตน์ และจิรพร สวัสดิการ. (2561). ปริมาณ ใยอาหารและคุณสมบัติการต้านแบคทีเรียของใยอาหาร จากเปลือกทุเรียนที่ผ่านการทำแห้งแบบลมร้อนและแบบ แช่เยือกแ

AOAC. (2000). Official Method of Analysis of AOAC international. (17th ed.). Association of Official Analytical Chemists Inc. USA.