การศึกษาคาบการโคจรและรัศมีของดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ WASP-10b ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ WASP-10b

Main Article Content

ทิตลา พรแสน
สุมินทร์ญา เจือเงิน
พัฒนพงษ์ จำรัสประเสริฐ
ธนวัฒน์ รังสูงเนิน
สมานชาญ จันทร์เอี่ยม

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคาบการโคจรและรัศมีของดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ WASP-10b โดยใช้วิธีทรานซิทและ วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยการใช้เทคนิคโฟโตเมตรี ผู้วิจัยได้ทำการเก็บข้อมูลภาพถ่ายโดยใช้กล้องโทรทรรศน์สะท้อนแสง ขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลาง 0.7 เมตร ทำการบันทึกภาพถ่ายผ่านแผ่นกรองแสงความยาวคลื่นสีที่ตามองเห็น (V) ณ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษานครราชสีมา โดยเก็บข้อมูลในวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 ระหว่างเวลา 20.00 น. ถึง วันที่ 17พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 เวลา 00.00 น. และนำข้อมูลมาวิเคราะห์ผลด้วยโปรแกรม AstroImageJ จากการวิเคราะห์กราฟ แสงของดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ WASP-10b เพื่อหาคาบการโคจรและรัศมี พบว่าดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ WASP-10b มีคาบการโคจร 2.925 วัน และมีค่ารัศมี 1.41 เท่าของรัศมีดาวพฤหัสบดี เมื่อเปรียบเทียบค่าจากพารามิเตอร์ที่ได้จากโปรแกรม AstroImageJ พบว่ามีค่าใกล้เคียงกับการคำนวณของผู้วิจัยและผลการวิจัยของ Yves Jongen ที่ศึกษาดาวเคราะห์นอกระบบ สุริยะ WASP-10b ในระยะเวลาที่ใกล้เคียงกัน

Article Details

บท
Original Articles

References

ดาราศาสตร์. (2559). เนื้อหา ประวัติทางดาราศาสตร์. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://iceeicee27.wixsite.com/astronomy/blank-4. (10 สิงหาคม 2563)

ดาวฤกษ์.(ม.ป.ป.). ความส่องสว่าง. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https:// sites.google.com/a/samakkhi.ac.th/dawvks/khwam-sxng-swang. (10 สิงหาคม 2563 )

ศวัสกมล ปิจดี. (2558). การสังเกตการณ์ด้วยเทคนิคโฟโตเมตรีและการวิเคราะห์ดาวเคราะห์นอก ระบบสุริยะแบบดาวยูเรนัสร้อน GJ3470 b ด้านวิธีผ่านหน้า. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, สาขาฟิสิกส์ประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

หอดูดาวสำหรับโรงเรียน. (2560). กล้องถ่ายภาพซีซีดี. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://nso.narit.or.th/index.php/2017. (10 สิงหาคม 2563)

หอดูดาวสำหรับโรงเรียน. (2560). ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://nso.narit.or.th/index.php/2017. (10 สิงหาคม 2563)

หอดูดาวสำหรับโรงเรียน. (2560). แผ่นกรองแสง. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://nso.narit.or.th/index.php/2017 . (10 สิงหาคม 2563)

หอดูดาวสำหรับโรงเรียน. (2060). การตรวจหาดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ.[ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://nso.narit.or.th/index.php/2017. (10 สิงหาคม 2563 )

AstroImageJ ImageJ for Astronomy. (2017). louisvill (Online). Avaliable URL : https://www.astro.louisville.edu/software/astroImageJ/. (15 August 2020)

Astronomy Technology Today. ( 2017) Planwave Teloscopes. (Online). Avaliable URL : https://astronomytechnologytoday.com/2017.

(15 August 2020)

Christian.et.al (2008). WASP-10b: a 3MJ , gas-giant planet transiting a late-type K star. Journal, Queen’s University. Volume 5 pages 1585-1590.

ETD - Exoplanet Transit Database. Varia Star and Exoplanet Section (Online). Avaliable URL :http://var .astro.cz/EN/tresca/transit detail=1606131123(10 March 2021)

Exoplanets Exploration nasa. (2014). About Exoplanets. (Online). Avaliable URL : https://exoplanets.nasa.gov/what-is-an-exoplanet/about-exoplanets/. (10 August 2020 )

Grauzhanina.el.at (2017). Spectroscopic observations of the exoplanet WASP-32b transit. Article, Astrophysical Bulletin. Volume 72 pages 67–72.

Johnson.et.al. (2009). A smaller radius for the transiting exoplanet WASP-10b. Journal, University of Hawaii. Volume 692 pages L100-L104.

NARIT. (2562). หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา นครราชสีมา. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.narit.or.th/index.php/caas/87-observatory/2019. (10 สิงหาคม 2563)

Quora. (2018). How does the transit method work in practice for exoplanet discovery. (Online). Avaliable URL : https://www.quora.com/ How-does-the-transitmethod-work-in-practice-for-exoplanet-discovery. (15 August 2020)

Regulusastro. (1997). How-To Help keep this site up and running!. (Online). Avaliable URL : https://regulusastro.com/how-t