การใช้โยเกิร์ตเป็นสารเสริมสำหรับพืชหมักต่อลักษณะทางกายภาพและองค์ประกอบทางเคมีของหญ้าเนเปียร์หมัก
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้้มีวัตถุุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางกายภาพและองค์ประกอบทางเคมีของหญ้าเนีเปียร์หมักที่เสริมด้วยโยเกิร์ต โดยใช้แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design, CRD) แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มๆ ละ 10 ซ้ำ ได้แก่ 1) เสริมกากน้ำตาล 5% (กลุ่มควบคุม) 2) เสริมโยเกิร์ต 2% 3) เสริมโยเกิร์ต 3% และ 4) เสริมโยเกิร์ต 4% ระยะเวลาการหมัก 21 วัน ผลการทดลองพบว่า ลักษณะทางกายภาพของหญ้าเนเปียร์หมักของกลุ่มที่เสริมโยเกิรต์ 3% มีคะแนนรวมลักษณะทางกายภาพเฉลี่ยสูงที่สุดเท่ากับ 22.81 คะแนน จัดเป็นพืชหมักระด้บดีมาก ส่วนกลุ่มอื่น ๆ มีคะแนนรวมลักษณะทางกายภาพระด้บดี ซึ่งเป็นระด้บที่รองลงมา ด้านองค์ประกอบทางเคมีของหญ้าเนเปียร์หมัก ได้แก่ ความชื้น วัตถุุแห้ง โปรตีนหยาบ อินทรียวัตถุุ เถ้า เยื่อใยผนังเซลล์ และเยื่อใยลิกโนเซลลูโลส ของทุกกลุ่มการทดลอง ไม่มีความีแตกต่างกัน ทางสถิติ (P>0.05) แต่พบว่า ปริมาณเยื่อใยหยาบของกลุ่มทเสริมโยเกิร์ต ทุกกลุ่มมีค่าเฉลี่ยสูงกว่ากลุ่มที่เสริมกากน้ำตาล (P<0.05) ด้งนั้นการใช้โยเกิร์ตเป็นสารเสริมช่วยหมักในระด้บ 3% ส่งผลให้หญ้าเนเปียร์หมักมีลักษณะทางกายภาพที่ดีกว่าการเสริมด้วยกากน้ำตาลเป็นสารเสริมช่วยหมัก
Article Details
References
กรมปศุสัตว์. (2544). หญ้าหมัก (พิมพ์ครั้งที่ 1). โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กรมปศุสัตว์. (2545). หญ้าเนเปียร์ (พิมพ์ครั้งที่ 1). โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กรมปศุสัตว์. (2547). มาตรฐานพืชอาหารหมัก. กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (พิมพ์ครั้งที่ 1). โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กรมปศุสัตว์. (2560). หญ้าหมัก. สืบค้นจาก URL: https://secretary.dld.go.th/webnew/index.php/th/news-menu/dld-editorial-menu/2703-6-2560. 1 พฤษภาคม.
กรมปศุสัตว์. (2566). ข้อมูลสถิติ นำเข้า-ส่งออกอาหารสัตว์. สืบค้นจาก URL: https://data.go.th/ dataset/item_de26c80b-0571-4721-8a82-aeed7 0919906. 1 มีนาคม.
นริศรา คงสุข, ศิวัช สังข์ศรีทวงษ์, เวทชัย เปล่งวิทยา, กิตติมา กองทอง และเสาวลักษณ์ แย้มหมื่นอาจ. (2563). ผลของการเสริมLactobacillus plantarum BCC 65951 ต่อคุณภาพการหมักของหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 หมัก โดยวิธีวัดแก๊สในห้องปฏิบัติการและการย่อยสลายในกระเพาะรูเมน. วารสารเกษตร, 36(1), 145-153
บุญส่ง เลิศรัตนพงค์, วิทยา สุมามาลย์, วิโรจน์ ฤทธิ์ฤาชัย, และรำไพร นามสีลี. (2555). การศึกษาคุณภาพของพืชหมักในถุงพลาสติกดำที่อายุการเก็บรักษาต่าง ๆ. ใน, รายงานผลงานวิจัยสำนักพัฒนาอาหารสัตว์ ประจำปี พ.ศ. 2555. กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
ปฏิภาณ หน่อแก้ว และเสาวลักษณ์ แย้มหมื่นอาจ. (2562). ผลของการเสริมแบคทีเรียผลิตกรดแลคติก ต่อคุณค่าทางโภชนะของเปลือก ซังข้าวโพดร่วมกับหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 ที่ระยะการหมักต่างๆ. วารสารแก่นเกษตร, 47(ฉบับพิเศษ 2), 747-752
AOAC. (2000). Official Method of Analysis of AOAC. (17th ed). Association of Official Analytical Chemists.
Bal, M.A., J.G. Coors., & Shaver, R.D. 1997. Impact of the maturity of corn for use as silage of dairy cows on intake, digestion and milk production. Journal of Dairy Science, 80(18), 2497-2503.
Basso, F. C. (2013). Corn silage inoculated with microbial additives. Ph.D. Thesis. Universidade Estadual Paulista, Campus de Jaboticabal, Sao Paulo.
Goering, H. K., & Van Soest, P. J. (1970). Forage Fiber Analysis (Apparatus Reagents, Procedures and Some Applications). Agriculture Handbook. United States Department of Agriculture, Washington DC.
Irsyammawati, A., Mashudi., & Ndaru, P. H. (2020). The Effect of Lactobacillus plantarum Addition and Fermentation Periods on Nutritive Value Dwarf Elephant Grass (Pennisetum purpureum cv Mott) Silage. The 4th Animal Production International Seminar. 24-27 October 2019. Malang, Indonesia.
Kiani, A., Fallah, R., & Azarfar, A. Effect of adding sour yoghurt and dough as bacterial inoculant on quality of corn silage. African Journal of Biotechnolog, 11(50), 11092-11095.
Nikpourtehrani, K., Movahedi, A. H., Shamma, M., & Saedi, H. 1987. Animal and poultry feed and their conservation methods. Tehran Univ. Press, Tehran.
Paulus, K. T., Gerson, F. B. & Hendrik, T. (2020). Physical Characteristics Analysis of Complete Silage Made of Sorghum Forage, King Grass and Natural Grass. Earth and Environmental Science, 465, 1-6.
Sharp, R. P., Hooper, G. & Armstrong, D. G. (1994). The digestion of grass silages produced using inoculants of lactic acid bacteria. Grass Forage Science, 49, 42-53.
Ruska, D., & Jonkus, D. (2014). Crude Protein and Non-protein Nitrogen Content in Dairy Cow Milk. Proceedings of the Latvia University of Agriculture, 32(327), 36-40.
Sibel, S. O., Kadir, E., & Onder, C. (2022). Effects of Sour Yogurt as an Alternative Additive in Second Crop Corn Silage. Fermentation, 8, 494-508.