การผลิตถ่านอัดแท่งจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร

Main Article Content

โรสลีนา อนันตนุกูลวงศ์
รอดียะห์ เจ๊ะแม
นุรมายามีน สาเร๊ะนุ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้เป็นการผลิตถ่านอัดแท่งจากวัสดุเหลือใช้ กะลามะพร้าว ใบไม้แห้งและขี้เลื่อย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบหาค่าสมบัติทางกายภาพโดยเปรียบเทียบหาค่าความร้อนและค่าความชื้น การทำวิจัยนี้จึงใช้กะลามะพร้าว ใบไม้แห้งและขี้เลื่อยผลิตเป็นถ่านอัดแท่งโดยมีน้ำหนัก 100% จากการทดลองพบว่าถ่านอัดแท่งที่ดีที่สุดได้จากวัสดุขี้เลื่อย โดยมีค่าความร้อน 5,067.55 cal/g และค่าความชื้นร้อยละเท่ากับ 0.037% ซึ่งค่าความร้อนและค่าความชื้นเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานในการผลิตถ่านอัดแท่ง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

1. กรมพลังงานทดแทน และ อนุรักษ์พลังงาน. (2555). แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 25% ใน10 ปี (พ.ศ. 2555-2564). กระทรวงพลังงาน. กรุงเทพฯ : 15.

2. กิตติกร สาสุจิตต์ วราพงศ์ แสนพินิจ ณัฐพงษ์ วงค์รินทร์ และณัฐวุฒิ ดุษฏี. (2558). การผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่งจากวัสดุเหลือ ทิ้งซังและเปลือกข้าวโพดด้วยเทคนิคการอัดรีดขึ้นรูปโดยใช้ตัวประสานแป้งมันผสมปูนขาว. วารสารมหาวิทยาลัย ทักษิณ, 18(1), 5-14.

3. ธนาพล ตันติสัตยกุล สุริฉาย พงษ์เกษม ปรีย์ปวีณ ภูหญ้า และ ภานุวัฒน์ ไถ้บ้านกวย. (2558). พลังงานทดแทนชุมชนจากเชื้อเพลิงชีวมวลอัดแท่งจากทางมะพร้าว.วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 23(3), 418 -431.

4. นนทพันธ์ จันทร์ธนูเดช. (2550). การหาและเปรียบเทียบพลังงานความร้อนระหว่างใบไม้แห้ง 15 ชนิด และถ่านอัดแท่ง : กรณีศึกษา อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย : สำนักวิทยบริการฯ.

5. ปัญจรัตน์ โจลานันท์ อาทิตย์ พุทธรักชาติ และจันสุดา คาตุ้ย. (2554). พลังงานทดแทนชุมชนจากเชื้อเพลิงแข็งอัดแท่งไมยราบ ยักษ์. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น, 16(1), 20-31.

6. รุ่งโรจน์ พุทธีสกุล. (2553). การผลิตถ่านอักแท่งจากถ่านกะลามะพร้าวและถ่านเหง้ามันสำปะหลัง. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีนครินทรวิโรฒ.

7. ลดาวัลย์ วัฒนะจีระ และคณะ. (2559). การพัฒนาก้อนเชื้อเพลิงชีวมวลจากเศษฟางข้าวผสมเศษลำไยเหลือทิ้ง. วารสารวิจัยและ พัฒนา มจธ, 39(2), 239-255.

8. วนิดา จาดดํา. (2548). “การศึกษาคุณสมบัติของถ่านอัดแท่งจากกากชาเขียวที่ผลิตโดยเครื่องอัดแบบเกลียว”. สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง: ม.ป.ท.

9. วัชราภรณ์ ยุบลเขต และ ดาริวรรณ เศรษฐีธรรม. (ม.ป.ป.). เปรียบเทียบคุณสมบัติของเชื้อเพลิงอัดแท่งจากขยะเศษใบไม้ที่ได้จาก การอัดด้วยเครื่องอัดและอัดด้วยมือ. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 17(4).

10. สมบัติย์ มงคลชัยชนะ และปิยะพงษ์ วงค์ขันแก้ว. (ม.ป.ป.) การพัฒนาเครื่องอัดแท่งเชื้อเพลิงจากฟางข้าว. รายงานสืบเนื่องการ ประชุมสัมมนาวิชาการ (Proceedings) การนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติเครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 17.

11. สำนักนโยบาย และ แผนพลังงาน. (2556). รายงานสถิติพลังงานของประเทศไทย 2013. กระทรวงพลังงาน. กรุงเทพฯ, 335.

12. สิริชัย ต่อสกุล กุณฑล ทองศรี และจงกล สุภารัตน์. (2555). การพัฒนาถ่านอัดแท่งจากกากมะพร้าวเป็นพลังงานทดแทน. การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี พ.ศ. 2555. 17-19 ตุลาคม 2555, 12, 1381-1386.

13. หทัยนุช จันทร์ชัยภูมิ. (2561). ถ่านอัดแท่งจากเปลือกมะขาม. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติราชธานี วิชาการ ครั้งที่ 3 “นวัตกรรมที่พลิกโฉมสังคมโลก”, 3, 288-296.

14. Nuriana, W. Anisa, N. and Martana. (2014). Synthesis Preliminary Studies Durian Peel Bio Briquettes as an Alternative Fuels, Energy Procedia 47, 295-302.