ผลของการเสริมสมุนไพรในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่นกกระทาญี่ปุ่น

Main Article Content

บุคอรี มะตูแก
จารุณี หนูละออง
สุวรรณา ทองดอนคำ
เกตวรรณ บุญเทพ
อับดุลรอฮิม เปาะอีแต
มูฮัมมัดลุตฟีร์ อาเกะ
ฟาอีฟ หะยีหมัด

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเสริมใบเตยผง ใบมะรุมผง และขมิ้นชันผง ในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ของกระทาญี่ปุ่น ใช้นกกระทาอายุ 39 วัน จำนวน 60 ตัว วางแผนการทดลอง แบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) แบ่งนกกระทาออกเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 3 ซ้ำ ๆ 5 ตัว นกกระทากลุ่มที่ 1 ได้รับ อาหารสูตรควบคุม (T1) กลุ่มที่ 2 ได้รับอาหารเสริมใบเตยผง 6 เปอร์เซ็นต์ (T2) กลุ่มที่ 3 ได้รับอาหารเสริมใบมะรุมผง 2 เปอร์เซ็นต์ (T3) และกลุ่มที่ 4 ได้รับอาหารเสริม
ขมิ้นชันผง 2 เปอร์เซ็นต์ (T4) บันทึกปริมาณอาหารที่กินและผลผลิตไข่ สุ่มไข่จำนวน 9 ฟองต่อกลุ่มเพื่อวิเคราะห์คุณภาพไข่ ผลการทดลอง พบว่า นกกระทากลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมขมิ้นชันผง 2 เปอร์เซ็นต์ มีค่าการเปลี่ยนอาหารเป็นน้ำหนักไข่และค่าการเปลี่ยนอาหารเป็นไข่ 1 โหลเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และนกกระทากลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมใบเตยผง 6 เปอร์เซ็นต์ และใบมะรุมผง 2 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ค่าสีของไข่แดง (a*) เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) การเสริมใบเตยหอมผงและใบมะรุมผงในอาหารนกกระทาญี่ปุ่นระยะไข่ควรใช้ที่ระดับ 6 และ 2 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ทำให้ค่าของสี
ไข่แดง (a*) เพิ่มสูงขึ้นโดยไม่กระทบต่อสมรรถภาพการผลิตไข่

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

บุคอรี มะตูแก, หลักสูตรสัตวศาสตร์และธุรกิจปศุสัตว์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 95000

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเสริมใบเตยผง ใบมะรุมผง และขมิ้นชันผง ในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ของกระทาญี่ปุ่น ใช้นกกระทาอายุ 39 วัน จำนวน 60 ตัว วางแผนการทดลอง แบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) แบ่งนกกระทาออกเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 3 ซ้ำ ๆ 5 ตัว นกกระทากลุ่มที่ 1 ได้รับ อาหารสูตรควบคุม (T1) กลุ่มที่ 2 ได้รับอาหารเสริมใบเตยผง 6 เปอร์เซ็นต์ (T2) กลุ่มที่ 3 ได้รับอาหารเสริมใบมะรุมผง 2 เปอร์เซ็นต์ (T3) และกลุ่มที่ 4 ได้รับอาหารเสริม
ขมิ้นชันผง 2 เปอร์เซ็นต์ (T4) บันทึกปริมาณอาหารที่กินและผลผลิตไข่ สุ่มไข่จำนวน 9 ฟองต่อกลุ่มเพื่อวิเคราะห์คุณภาพไข่ ผลการทดลอง พบว่า นกกระทากลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมขมิ้นชันผง 2 เปอร์เซ็นต์ มีค่าการเปลี่ยนอาหารเป็นน้ำหนักไข่และค่าการเปลี่ยนอาหารเป็นไข่ 1 โหลเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และนกกระทากลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมใบเตยผง 6 เปอร์เซ็นต์ และใบมะรุมผง 2 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ค่าสีของไข่แดง (a*) เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) การเสริมใบเตยหอมผงและใบมะรุมผงในอาหารนกกระทาญี่ปุ่นระยะไข่ควรใช้ที่ระดับ 6 และ 2 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ทำให้ค่าของสีไข่แดง (a*) เพิ่มสูงขึ้นโดยไม่กระทบต่อสมรรถภาพการผลิตไข่

จารุณี หนูละออง , หลักสูตรสัตวศาสตร์และธุรกิจปศุสัตว์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 95000

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเสริมใบเตยผง ใบมะรุมผง และขมิ้นชันผง ในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ของกระทาญี่ปุ่น ใช้นกกระทาอายุ 39 วัน จำนวน 60 ตัว วางแผนการทดลอง แบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) แบ่งนกกระทาออกเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 3 ซ้ำ ๆ 5 ตัว นกกระทากลุ่มที่ 1 ได้รับ อาหารสูตรควบคุม (T1) กลุ่มที่ 2 ได้รับอาหารเสริมใบเตยผง 6 เปอร์เซ็นต์ (T2) กลุ่มที่ 3 ได้รับอาหารเสริมใบมะรุมผง 2 เปอร์เซ็นต์ (T3) และกลุ่มที่ 4 ได้รับอาหารเสริม
ขมิ้นชันผง 2 เปอร์เซ็นต์ (T4) บันทึกปริมาณอาหารที่กินและผลผลิตไข่ สุ่มไข่จำนวน 9 ฟองต่อกลุ่มเพื่อวิเคราะห์คุณภาพไข่ ผลการทดลอง พบว่า นกกระทากลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมขมิ้นชันผง 2 เปอร์เซ็นต์ มีค่าการเปลี่ยนอาหารเป็นน้ำหนักไข่และค่าการเปลี่ยนอาหารเป็นไข่ 1 โหลเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และนกกระทากลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมใบเตยผง 6 เปอร์เซ็นต์ และใบมะรุมผง 2 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ค่าสีของไข่แดง (a*) เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) การเสริมใบเตยหอมผงและใบมะรุมผงในอาหารนกกระทาญี่ปุ่นระยะไข่ควรใช้ที่ระดับ 6 และ 2 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ทำให้ค่าของสีไข่แดง (a*) เพิ่มสูงขึ้นโดยไม่กระทบต่อสมรรถภาพการผลิตไข่

สุวรรณา ทองดอนคำ , หลักสูตรสัตวศาสตร์และธุรกิจปศุสัตว์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 95000

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเสริมใบเตยผง ใบมะรุมผง และขมิ้นชันผง ในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ของกระทาญี่ปุ่น ใช้นกกระทาอายุ 39 วัน จำนวน 60 ตัว วางแผนการทดลอง แบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) แบ่งนกกระทาออกเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 3 ซ้ำ ๆ 5 ตัว นกกระทากลุ่มที่ 1 ได้รับ อาหารสูตรควบคุม (T1) กลุ่มที่ 2 ได้รับอาหารเสริมใบเตยผง 6 เปอร์เซ็นต์ (T2) กลุ่มที่ 3 ได้รับอาหารเสริมใบมะรุมผง 2 เปอร์เซ็นต์ (T3) และกลุ่มที่ 4 ได้รับอาหารเสริม
ขมิ้นชันผง 2 เปอร์เซ็นต์ (T4) บันทึกปริมาณอาหารที่กินและผลผลิตไข่ สุ่มไข่จำนวน 9 ฟองต่อกลุ่มเพื่อวิเคราะห์คุณภาพไข่ ผลการทดลอง พบว่า นกกระทากลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมขมิ้นชันผง 2 เปอร์เซ็นต์ มีค่าการเปลี่ยนอาหารเป็นน้ำหนักไข่และค่าการเปลี่ยนอาหารเป็นไข่ 1 โหลเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และนกกระทากลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมใบเตยผง 6 เปอร์เซ็นต์ และใบมะรุมผง 2 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ค่าสีของไข่แดง (a*) เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) การเสริมใบเตยหอมผงและใบมะรุมผงในอาหารนกกระทาญี่ปุ่นระยะไข่ควรใช้ที่ระดับ 6 และ 2 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ทำให้ค่าของสีไข่แดง (a*) เพิ่มสูงขึ้นโดยไม่กระทบต่อสมรรถภาพการผลิตไข่

เกตวรรณ บุญเทพ , หลักสูตรสัตวศาสตร์และธุรกิจปศุสัตว์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 95000

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเสริมใบเตยผง ใบมะรุมผง และขมิ้นชันผง ในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ของกระทาญี่ปุ่น ใช้นกกระทาอายุ 39 วัน จำนวน 60 ตัว วางแผนการทดลอง แบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) แบ่งนกกระทาออกเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 3 ซ้ำ ๆ 5 ตัว นกกระทากลุ่มที่ 1 ได้รับ อาหารสูตรควบคุม (T1) กลุ่มที่ 2 ได้รับอาหารเสริมใบเตยผง 6 เปอร์เซ็นต์ (T2) กลุ่มที่ 3 ได้รับอาหารเสริมใบมะรุมผง 2 เปอร์เซ็นต์ (T3) และกลุ่มที่ 4 ได้รับอาหารเสริม
ขมิ้นชันผง 2 เปอร์เซ็นต์ (T4) บันทึกปริมาณอาหารที่กินและผลผลิตไข่ สุ่มไข่จำนวน 9 ฟองต่อกลุ่มเพื่อวิเคราะห์คุณภาพไข่ ผลการทดลอง พบว่า นกกระทากลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมขมิ้นชันผง 2 เปอร์เซ็นต์ มีค่าการเปลี่ยนอาหารเป็นน้ำหนักไข่และค่าการเปลี่ยนอาหารเป็นไข่ 1 โหลเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และนกกระทากลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมใบเตยผง 6 เปอร์เซ็นต์ และใบมะรุมผง 2 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ค่าสีของไข่แดง (a*) เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) การเสริมใบเตยหอมผงและใบมะรุมผงในอาหารนกกระทาญี่ปุ่นระยะไข่ควรใช้ที่ระดับ 6 และ 2 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ทำให้ค่าของสีไข่แดง (a*) เพิ่มสูงขึ้นโดยไม่กระทบต่อสมรรถภาพการผลิตไข่

อับดุลรอฮิม เปาะอีแต, หลักสูตรสัตวศาสตร์และธุรกิจปศุสัตว์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 95000

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเสริมใบเตยผง ใบมะรุมผง และขมิ้นชันผง ในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ของกระทาญี่ปุ่น ใช้นกกระทาอายุ 39 วัน จำนวน 60 ตัว วางแผนการทดลอง แบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) แบ่งนกกระทาออกเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 3 ซ้ำ ๆ 5 ตัว นกกระทากลุ่มที่ 1 ได้รับ อาหารสูตรควบคุม (T1) กลุ่มที่ 2 ได้รับอาหารเสริมใบเตยผง 6 เปอร์เซ็นต์ (T2) กลุ่มที่ 3 ได้รับอาหารเสริมใบมะรุมผง 2 เปอร์เซ็นต์ (T3) และกลุ่มที่ 4 ได้รับอาหารเสริม
ขมิ้นชันผง 2 เปอร์เซ็นต์ (T4) บันทึกปริมาณอาหารที่กินและผลผลิตไข่ สุ่มไข่จำนวน 9 ฟองต่อกลุ่มเพื่อวิเคราะห์คุณภาพไข่ ผลการทดลอง พบว่า นกกระทากลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมขมิ้นชันผง 2 เปอร์เซ็นต์ มีค่าการเปลี่ยนอาหารเป็นน้ำหนักไข่และค่าการเปลี่ยนอาหารเป็นไข่ 1 โหลเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และนกกระทากลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมใบเตยผง 6 เปอร์เซ็นต์ และใบมะรุมผง 2 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ค่าสีของไข่แดง (a*) เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) การเสริมใบเตยหอมผงและใบมะรุมผงในอาหารนกกระทาญี่ปุ่นระยะไข่ควรใช้ที่ระดับ 6 และ 2 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ทำให้ค่าของสีไข่แดง (a*) เพิ่มสูงขึ้นโดยไม่กระทบต่อสมรรถภาพการผลิตไข่

มูฮัมมัดลุตฟีร์ อาเกะ , หลักสูตรสัตวศาสตร์และธุรกิจปศุสัตว์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 95000

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเสริมใบเตยผง ใบมะรุมผง และขมิ้นชันผง ในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ของกระทาญี่ปุ่น ใช้นกกระทาอายุ 39 วัน จำนวน 60 ตัว วางแผนการทดลอง แบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) แบ่งนกกระทาออกเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 3 ซ้ำ ๆ 5 ตัว นกกระทากลุ่มที่ 1 ได้รับ อาหารสูตรควบคุม (T1) กลุ่มที่ 2 ได้รับอาหารเสริมใบเตยผง 6 เปอร์เซ็นต์ (T2) กลุ่มที่ 3 ได้รับอาหารเสริมใบมะรุมผง 2 เปอร์เซ็นต์ (T3) และกลุ่มที่ 4 ได้รับอาหารเสริม
ขมิ้นชันผง 2 เปอร์เซ็นต์ (T4) บันทึกปริมาณอาหารที่กินและผลผลิตไข่ สุ่มไข่จำนวน 9 ฟองต่อกลุ่มเพื่อวิเคราะห์คุณภาพไข่ ผลการทดลอง พบว่า นกกระทากลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมขมิ้นชันผง 2 เปอร์เซ็นต์ มีค่าการเปลี่ยนอาหารเป็นน้ำหนักไข่และค่าการเปลี่ยนอาหารเป็นไข่ 1 โหลเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และนกกระทากลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมใบเตยผง 6 เปอร์เซ็นต์ และใบมะรุมผง 2 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ค่าสีของไข่แดง (a*) เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) การเสริมใบเตยหอมผงและใบมะรุมผงในอาหารนกกระทาญี่ปุ่นระยะไข่ควรใช้ที่ระดับ 6 และ 2 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ทำให้ค่าของสีไข่แดง (a*) เพิ่มสูงขึ้นโดยไม่กระทบต่อสมรรถภาพการผลิตไข่

ฟาอีฟ หะยีหมัด, หลักสูตรสัตวศาสตร์และธุรกิจปศุสัตว์ คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 95000

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเสริมใบเตยผง ใบมะรุมผง และขมิ้นชันผง ในอาหารต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ของกระทาญี่ปุ่น ใช้นกกระทาอายุ 39 วัน จำนวน 60 ตัว วางแผนการทดลอง แบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) แบ่งนกกระทาออกเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 3 ซ้ำ ๆ 5 ตัว นกกระทากลุ่มที่ 1 ได้รับ อาหารสูตรควบคุม (T1) กลุ่มที่ 2 ได้รับอาหารเสริมใบเตยผง 6 เปอร์เซ็นต์ (T2) กลุ่มที่ 3 ได้รับอาหารเสริมใบมะรุมผง 2 เปอร์เซ็นต์ (T3) และกลุ่มที่ 4 ได้รับอาหารเสริม
ขมิ้นชันผง 2 เปอร์เซ็นต์ (T4) บันทึกปริมาณอาหารที่กินและผลผลิตไข่ สุ่มไข่จำนวน 9 ฟองต่อกลุ่มเพื่อวิเคราะห์คุณภาพไข่ ผลการทดลอง พบว่า นกกระทากลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมขมิ้นชันผง 2 เปอร์เซ็นต์ มีค่าการเปลี่ยนอาหารเป็นน้ำหนักไข่และค่าการเปลี่ยนอาหารเป็นไข่ 1 โหลเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และนกกระทากลุ่มที่ได้รับอาหารเสริมใบเตยผง 6 เปอร์เซ็นต์ และใบมะรุมผง 2 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ค่าสีของไข่แดง (a*) เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) การเสริมใบเตยหอมผงและใบมะรุมผงในอาหารนกกระทาญี่ปุ่นระยะไข่ควรใช้ที่ระดับ 6 และ 2 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ทำให้ค่าของสีไข่แดง (a*) เพิ่มสูงขึ้นโดยไม่กระทบต่อสมรรถภาพการผลิตไข่

References

Abou-Elezz, F.M.K., Sarmiento-Franco, L., Santos-Ricalde, R. & Solorio-Sanchez, F., (2011). Nutritional Effects of Dietary Inclusion of Leucaena leucocephala and Moringa oleifera Leaf Meal on Rhode Island Red Hens’ Performance. Cuban Journal of Agricultural Science, 45, 163-169.

Al-Saud, N.B.S. (2020). Impact of Curcumin Treatment on Diabetic Albino Rats. Saudi Journal of Biological Sciences, 27(2), 689-694.

Chalermsan, N., Navanukraha, B., Kitiyanupab, J., Moun-Wang, S. & Montatham, S. (2016). The Use of Moringa Leaf Meal in Laying Quail Diets. Rajamangala University of Technology Srivijaya Research Journal, 8(2), 137-146. (in Thai)

Dajanta. K., Chattong, U., & Rongkam H. (2019). Effect of Solid-to-solvent Ratio and Maceration Time on Antioxidant Quality of Moringa oleifera Leaf Extract. Khon Kaen Agricultural Journal, 47 supplementary (1), 1533-1540. (in Thai)

Ebenebe, C., Anigbogu, C. C., Anizoba, M. & Ufele, A. N. (2013). Effect of Various Levels of Moringa Leaf Meal on the Egg Quality of Isa Brown Breed of Layers. Advances in Life Science and Technology, 14, 45-50.

Guimarães, R.R., Oliveira, M. A., Oliveira, H.C., Doró, S.C.O.L., Machado, L. A. & Oliveira, M.C. (2021). Turmeric Powder in the Diet of Japanese Quails Improves the Quality of Stored Eggs. Reviced Brasil Saúde Production Animal, 22,1-18.

Hassan, S.M. (2016). Effects of Adding Different Dietary Levels of Turmeric (Curcuma longa Linn) Powder on Productive Performance and Egg Quality of Laying Hens. International Journal of Poultry Science. 15 (4),156-160.

Hengsawadi D. (2011). Moringa oleifera… Miraculous Plant, food against diseases. Food Journal: 41(2), 134-139. (in Thai)

Jintasataporn, O. (2013). Thai Herbs Improve Poultry Production Efficiency: Egg Production Performance, Egg Quality and Layer Health. Kasetsart Livestock Magazine, 40 (158),56-66. (in Thai)

Kakengi, A.M.V., Kaijage, J.T., Sarwatt, S.V., Mutayoba, S.K., Shem, M.N. & Fujihara, T. (2007). Effect of Moringa oleifera Leaf Meal as a Substitute for Sunflower Seed Meal on Performance of Laying Hens in Tanzania. Livestock Research for Rural Development, 19, 363-367.

Laucha, S., Songserm O., Ruangpanit Y. & Attamangkune S. (2009). Supplementation of Crude Extract from Curcuma longa L. in Diet on Layer Performance. Proceedings of 7th Kaset Naresuan conference, 30 July 2009, Phitsanulok : Naresuan University (in Thai)

Liaotrakoon, W., Leawtrakoon V., Hongthongsuk T. (2021). Effect of Extraction Temperature and Concentration on the Quality of Pandan Juice [Online]. Retrieved November 2, 2021, from: https://research.rmutsb.ac.th/fullpaper/2564/research.rmutsb-2564-20210513155049171.pdf. (in Thai)

Matukae, B., Hayeesalae, S. & Kaehsi N. (2020). Effect of Use of Bio-extracts of Thai Herb on Production Performance and Egg Quality of Japanese Quail. YRU Journal of Science and Technology,5(2), 78-84.

Niyomdecha, A. (2012). Effects of Pandanus amarylifolius Roxb. Supplementation in Diet on Japaness Quail Performance and Egg Quality [Online]. Retrieved November 2, 2021, from: http://rms.pnu.ac.th/rdbms/fulltext/061117_122150f.pdf. (in Thai)

Niyomdecha A. & Khongsen M. (2013). Metabolism and Nutritional Values of Carotenoids on Egg Yolk Color. Princess of Naradhiwas University Journal, supplementary, 5(4), 112- 121. (in Thai)

Noolaong, J., Putsakul, A. & Poh-etae A. (2015). Effect of Supplementation Curcuma longa Linn in Feed on Production Performance and Egg Quality of Japanese Quail. Proceedings of 53rd Kasetsart University Annual Conference: Plants, Animals, Veterinary Medicine, Fisheries, Agricultural Extension and Home Economics, Febuary 3-6, 2015 Bangkok: Kasetsart University. (in Thai)

Pandee, S., Panja P. & Srichana, D. (2013). Effect of Supplementation Pandanus amaryllifolius roxb. Leaves Meal in Layer Diet on Production Performance and Quality of Egg. Agricultural Science Journal, supplementary, 44(1), 275-278.

Platel K. & Srinivasan K. (2000). Influence of Dietary Spices and Their Active Principles on Pancreatic Digestive Enzymes in Albino Rats. Nahrung/Food, 44: 42–46.

Pornchaloempong, P. & Rattanapanone, N. (n.p.). Chlorophyll [Online]. Retrieved May 29, 2022, from: https://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/1341/chlorophyll

Radwan Nadia L., Hassan R.A., Qota E.M. & Fayek H.M. (2008). Effect of Natural Antioxidant on Oxidative Stability of Eggs and Productive and Reproductive Performance of Laying Hens. International Journal Poultry Science, 7:134-150.

Reda, F. M., El-Saadony, M. T., Elnesr, S. S., Alagawany, M. & Tufarelli, V. (2020). Effect of Dietary Supplementation of Biological Curcumin Nanoparticles on Growth and Carcass Traits, Antioxidant Status, Immunity and Caecal Microbiota of Japanese Quails. Animals, 10, 754-766.

Sa-nguanphan, S., Triwutanont, O., Plaiboon, A. & Rattanatabtimtong, S. (2004). Effect of Pandanus (Pandanus odorus Ridl.) Supplementation in Feed on Layer Chickens Performance and Yield Quality. 25th Anniversary, Kasetsart University Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom (Thailand) (inThai).

Sa-nguanphan, S., Sukpimai, S. & Mathong, R. (2009). Effect of Supplementation Pandannus amarylifolius Roxb. in diet on performance of Japanese quail at different age under the evaporative cooling house [Online]. Retrieved November 2, 2021, from:http://researchconference.kps.ku.ac.th/article_6/pdf/o_an_vet05.pdf

Sa-nguanphan, S. (2010). Effects of Pandanus amaryllifolius Roxb. Supplementation on Egg Production Performance and Egg Quality under Different Housing Systems. Kasetsart Journal (Natural Science), 44, 191-195.

Silva, W. J. D., Gouveia, A. B. V. S., Sousa, F. E. D., Santos, F. R. D., Minafra-Rezende, C. S., Silva, J. M. S. & Minafra, C. S. (2018). Turmeric and Sorghum for Egg-laying Quails. Italian Journal of Animal Science, 17(2), 368–376.

Tapingkae, W. (2014). Alternatives to the Use of Antibiotics as Growth Promoters for Livestock Animals. Journal of Agriculture, 30(2),201-212. (in Thai)

Veeraditthakit, P. & Panja P. (2015). Influence of Dietary Supplementation of Moringa oleifera Leaf Powder on Egg Production and Egg Quality. Science and Technology Journal. 23(2). 294-305. (in Thai)

Wang, Y., Wang, L., Zhu, X., Wang, D. & Li, X. (2016). Choleretic Activity of Turmeric and Its Active Ingredients. Journal of Food Science, 81(7),H1800-H1806.

Wongtho, P. & Thongpoon, C. (2014). Determination of curcuminoid in herbal product [Online]. Retrieved May 28, 2022, from : https://research.psru.ac.th/~rdi/files/res_journal5