ประสิทธิภาพผงชีวภัณฑ์ Bacillus sp. Ks5 ในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช และควบคุมเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae ที่เป็นสาเหตุโรคขอบใบแห้งในข้าว

Main Article Content

สุวิชญา บัวชาติ
ประภาพร พวงพี
ณัฐวรรณ แจ่มใส

บทคัดย่อ

โรคโรคขอบใบแห้งในข้าวที่เกิดจากเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae ได้กลายเป็นปัญหาที่รุนแรงในประเทศไทย การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ทดสอบประสิทธิภาพของผงชีวภัณฑ์ในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช และควบคุมเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae การคัดแยกเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์จากดินบริเวณรอบรากข้าว ได้เชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ที่คัดแยกได้ทั้งหมด 23 ไอโซเลต พบ 6 ไอโซเลท ที่มีประสิทธิภาพยับยั้งเชื้อก่อโรคขอบใบแห้งในข้าวที่มีสาเหตุจากเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae โดย Bacillus sp. Ks5 สามารถยับยั้งเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae ได้ดีที่สุดมีบริเวณยับยั้งกว้าง 1.43 เซนติเมตร เมื่อทดสอบด้วยวิธี agar diffusion Bacillus sp. Ks5 สามารถนำมาพัฒนาเป็นผงชีวภัณฑ์และรักษาเซลล์แบคทีเรียให้อยู่รอดที่ 6.37×108 CFU/ml ผงชีวภัณฑ์แบคทีเรียปฏิปักษ์ Bacillus sp. Ks5 ที่เก็บเป็นระยะเวลา 3 เดือน มีประสิทธิภาพสูงสุดในการยับยั้งเชื้อก่อโรค โดยมีบริเวณกว้าง 2.20 เซนติเมตร ตามลำดับ ผงชีวภัณฑ์แบคทีเรียปฏิปักษ์ Bacillus sp. Ks5 สามารถสร้างสารส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ แอมโมเนีย 

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

สุวิชญา บัวชาติ, โปรแกรมวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร 62000

โรคโรคขอบใบแห้งในข้าวที่เกิดจากเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae ได้กลายเป็นปัญหาที่รุนแรงในประเทศไทย การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ทดสอบประสิทธิภาพของผงชีวภัณฑ์ในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช และควบคุมเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae การคัดแยกเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์จากดินบริเวณรอบรากข้าว ได้เชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ที่คัดแยกได้ทั้งหมด 23 ไอโซเลต พบ 6 ไอโซเลท ที่มีประสิทธิภาพยับยั้งเชื้อก่อโรคขอบใบแห้งในข้าวที่มีสาเหตุจากเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae โดย Bacillus sp. Ks5 สามารถยับยั้งเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae ได้ดีที่สุดมีบริเวณยับยั้งกว้าง 1.43 เซนติเมตร เมื่อทดสอบด้วยวิธี agar diffusion Bacillus sp. Ks5 สามารถนำมาพัฒนาเป็นผงชีวภัณฑ์และรักษาเซลล์แบคทีเรียให้อยู่รอดที่ 6.37×108 CFU/ml ผงชีวภัณฑ์แบคทีเรียปฏิปักษ์ Bacillus sp. Ks5
ที่เก็บเป็นระยะเวลา 3 เดือน มีประสิทธิภาพสูงสุดในการยับยั้งเชื้อก่อโรค โดยมีบริเวณกว้าง 2.20 เซนติเมตร ตามลำดับ
ผงชีวภัณฑ์แบคทีเรียปฏิปักษ์ Bacillus sp. Ks5 สามารถสร้างสารส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ แอมโมเนีย

ประภาพร พวงพี, โปรแกรมวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร 62000

โรคโรคขอบใบแห้งในข้าวที่เกิดจากเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae ได้กลายเป็นปัญหาที่รุนแรงในประเทศไทย การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ทดสอบประสิทธิภาพของผงชีวภัณฑ์ในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช และควบคุมเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae การคัดแยกเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์จากดินบริเวณรอบรากข้าว ได้เชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ที่คัดแยกได้ทั้งหมด 23 ไอโซเลต พบ 6 ไอโซเลท ที่มีประสิทธิภาพยับยั้งเชื้อก่อโรคขอบใบแห้งในข้าวที่มีสาเหตุจากเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae โดย Bacillus sp. Ks5 สามารถยับยั้งเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae ได้ดีที่สุดมีบริเวณยับยั้งกว้าง 1.43 เซนติเมตร เมื่อทดสอบด้วยวิธี agar diffusion Bacillus sp. Ks5 สามารถนำมาพัฒนาเป็นผงชีวภัณฑ์และรักษาเซลล์แบคทีเรียให้อยู่รอดที่ 6.37×108 CFU/ml ผงชีวภัณฑ์แบคทีเรียปฏิปักษ์ Bacillus sp. Ks5
ที่เก็บเป็นระยะเวลา 3 เดือน มีประสิทธิภาพสูงสุดในการยับยั้งเชื้อก่อโรค โดยมีบริเวณกว้าง 2.20 เซนติเมตร ตามลำดับ
ผงชีวภัณฑ์แบคทีเรียปฏิปักษ์ Bacillus sp. Ks5 สามารถสร้างสารส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ แอมโมเนีย

ณัฐวรรณ แจ่มใส, โปรแกรมวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร 62000

โรคโรคขอบใบแห้งในข้าวที่เกิดจากเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae ได้กลายเป็นปัญหาที่รุนแรงในประเทศไทย การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ทดสอบประสิทธิภาพของผงชีวภัณฑ์ในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช และควบคุมเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae การคัดแยกเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์จากดินบริเวณรอบรากข้าว ได้เชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ที่คัดแยกได้ทั้งหมด 23 ไอโซเลต พบ 6 ไอโซเลท ที่มีประสิทธิภาพยับยั้งเชื้อก่อโรคขอบใบแห้งในข้าวที่มีสาเหตุจากเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae โดย Bacillus sp. Ks5 สามารถยับยั้งเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae ได้ดีที่สุดมีบริเวณยับยั้งกว้าง 1.43 เซนติเมตร เมื่อทดสอบด้วยวิธี agar diffusion Bacillus sp. Ks5 สามารถนำมาพัฒนาเป็นผงชีวภัณฑ์และรักษาเซลล์แบคทีเรียให้อยู่รอดที่ 6.37×108 CFU/ml ผงชีวภัณฑ์แบคทีเรียปฏิปักษ์ Bacillus sp. Ks5
ที่เก็บเป็นระยะเวลา 3 เดือน มีประสิทธิภาพสูงสุดในการยับยั้งเชื้อก่อโรค โดยมีบริเวณกว้าง 2.20 เซนติเมตร ตามลำดับ
ผงชีวภัณฑ์แบคทีเรียปฏิปักษ์ Bacillus sp. Ks5 สามารถสร้างสารส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ แอมโมเนีย

References

Azman, N.A., Sijam, K., Hata, E.M., Othman, R. & Saud, H.M. (2017). Screening of Bacteria as Antagonist against Xanthomonas oryzae pv. oryzae, the Causal Agent of Bacterial Leaf Blight of Paddy and as Plant Growth Promoter. Journal of Experimental Agriculture International, 16(4), 1-15.

Beric, T., Koji, M., Stankovi, S., Topisirovi, L., Degrassi, G., Myers, M., et al. (2012). Antimicrobial activity of Bacillus sp. natural isolates and their potential use in the bio¬control of phytopathogenic bacteria. Food Tech¬nology and Biotechnology, 50 (1), 25-31.

Chung, E.J., Hossain, M.T., Khan, A., Kim, K.H., Jeon, C.O. & Chung, Y.R. (2015). Bacillus oryzicola sp. nov., an Endophytic Bacterium Isolated from the Roots of Rice with Antimicrobial, Plant Growth Promoting, and Systemic Resistance Inducing Activities in Rice. The Plant Pathology Journal. 31(2), 152-164.

Dossa, C.S.G., Karlovsky, P. & Wydra, K. (2014). Biochemical Approach for Virulence Factors’ Identification in Xanthomonas Oryzae Pv. Oryzae. Journal of Plant Pathology & Microbiology, 5(2), 1-7.

Fan, B., Blom, J., Klenk, H.P. & Borriss, R. (2017). Bacillus amyloliquefaciens, Bacillus velezensis, and Bacillus siamensis Form an “Operational Group B. amyloliquefaciens” within the B. subtilis Species Complex. Frontiers in Microbiology, 8, 1-15.

Herrera, J.M., Rubio, G., Levy, L., Delgado, J.A., Lucho-Constantino, C.A., Islas-Valdez, S., et al. (2016). Emerging and established technologies to increase nitrogen use efficiency of cereals. Agronomy, 6(25), 1-19.

Jin, P., Wang, Y., Tan, Z., Liu, W. & Miao, W. (2020). Antibacterial activity and rice-induced resistance, mediated by C15surfactinA, in controlling rice disease caused by Xanthomonas oryzae pv. oryzae. Pesticide Biochemistry and Physiology. 169, 1-9.

Kantajan, A., Klinmanee, C. & Dhitikiattipong, R. (2018). Using Antagonistic Bacteria to Control Bacterial Blight of Rice under Greenhouse Condition. The 35th Winter Rice and Cereals Conference, June26 – 28, 2018. Chanthaburi: Sand Dunes Chaolao Beach Resort. (in Thai)

Kittiwongwattana, C., Thanaboripat, D., Laosinwattana, C., Koohakan, P., Parinthawong, N. & Thawa, T. (2016). Isolation of Plant-growth-promoting Bacteria from Rice (Oryza sativa). Journal of Science Ladkrabang, 25(1), 59–74. (in Thai)

Paslon, F.V., Alovera, R.B., Amper, C.D. & Ballentes, M.G. (2017). Suppression of Bacterial Leaf Blight (Xanthomonas oryzae pv. oryzae) using Local Isolates of Rhizobacteria. CMU Journal of Science, 21, 2-8.

Poralokanon, P. (2017). Biochar based bioformula development of antagonistic bacteria to induce systemic resistant of organic lime against canker disease. Master’s Thesis. Thammasat University. (In Thai)

Public Health England. (2018). UK Standards for Microbiology Investigations: Identification of Bacillus species. London: Standards Unit.

Sirinunta, A. & Akarapisan, A. (2015). Screening of antagonistic bacteria for controlling Cercospora coffeicola in Arabica coffee. International Journal of Agricultural Technology, 11(5), 1209-1218.

Suliasih & Widawati S. (2020). Isolation of Indole Acetic Acid (IAA) producing Bacillus siamensis from peat and optimization of the culture conditions for maximum IAA production. The 9th International Symposium for Sustainable Humanosphere. October 28 – 29, 2019. Indonesia: Grand Savero Hotel.

Tariq, R., Ji, Z., Wang, C., Tang, Y., Zou, L., Sun, H., et al. (2019). RNA-Seq analysis of gene expression changes triggered by Xanthomonas oryzae pv. oryzae in a susceptible rice genotype. Rice, 12(44), 1-14.

Varma, p.K., Kumar, K.V.K., Sekhar, V.C., Adilakshmi, D., Suresh, M., Kumar, N.R., et al. (2017). Evaluation of Endophytic Bacteria for Plant Growth Promotion and Pathogen Suppression Traits in Saccharum officinarum. Journal of Agricultural Science and Technology A. 7, 535-545.

Wongchalee, D. (2015). Efficacy of an encapsulated antagonistic Bacillus in controlling chili anthracnose. Master’s Thesis. Suranaree University of Technology. (in Thai)

Wu, L., Wu, H., Chen, L., Yu, X., Borriss, R. & Gao, X. (2015). Difficidin and bacilysin from Bacillus amyloliquefaciens FZB42 have antibacterial activity against Xanthomonas oryzae rice pathogens. Scientific Reports, 5, 1 – 9.

Xie, S., Zang, H., Wu, H., Rajer, F.U. & Gao, X. (2018). Antibacterial effects of volatiles produced by Bacillus strain D13 against Xanthomonas oryzae pv. oryzae. Molecular Plant Pathology. 19(1), 49–58.

Yang, L., Quan, X., Xue, B., Goodwin, P.H., Lu, S., Wang, J., et al. (2015). Isolation and identification of Bacillus subtilis strain YB-05 and its antifungal substances showing antagonism against Gaeumannomyces graminis var. tritici. Biological Control, 8, 52-58.