ผลของข้าวโพดมอลต์แซคติคในอาหารต่อสมรรถนะการเจริญเติบโต การย่อยของโภชนะและประชากรจุลินทรีย์ในลำไส้ส่วนท้ายของไก่กระทง

Main Article Content

สุธาทิพย์ ไชยวงศ์
มณีวรรณ ยะกับ
ณัฐพันธุ์ กันธิยะ
มนัสนันท์ นพรัตน์ไมตรี
กฤษณธร สินตะละ
พรรณพร กุลมา
รัชนี บัวระภา
วุฒิกร สระแก้ว

บทคัดย่อ

การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้ข้าวโพดมอลต์แซคติคในสูตรอาหารต่อสมรรถนะการเจริญเติบโต การย่อยได้ของโภชนะ โภชนะย่อยได้ที่ได้รับ และจำนวนประชากรจุลินทรีย์ในลำไส้ส่วนท้ายของไก่กระทง โดยใช้ลูกไก่กระทงเพศผู้สายพันธุ์ Cobb 500 อายุ 1 วัน จำนวน 400 ตัว วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แบ่งเป็น 4 ทรีทเมนต์ ๆ ละ 4 ซ้ำ โดยแต่ละทรีทเมนต์แตกต่างกันที่ระดับการใช้ข้าวโพดมอลต์แซคติคในสูตรอาหารที่ระดับ 0, 5, 10 และ 15 เปอร์เซ็นต์ ทำการทดลองเป็นระยะเวลา 35 วัน ผลการทดลองพบว่า การใช้ข้าวโพดมอลต์แซคติคในอาหารไก่กระทงสามารถเพิ่มน้ำหนักตัว อัตราการเจริญเติบโตต่อวัน อัตราการเลี้ยงรอดและดัชนีประสิทธิภาพการผลิต (P<0.05 ) ขณะที่อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นน้ำหนักตัวมีแนวโน้มลดลง (P<0.08) นอกจากนี้ข้าวโพดมอลต์แซคติคยังสามารถเพิ่มการย่อยได้และโภชนะย่อยได้ที่ได้รับในส่วนวัตถุแห้งและโปรตีน (P<0.05) รวมถึงเพิ่มแบคทีเรียกรดแลคติคและลด Esherichia coli  ในลำไส้ส่วนท้าย (P<0.01) โดยสรุป ข้าวโพดมอลต์แซคติคซึ่งเป็นวัตถุดิบพลังงานดัดแปลงให้โปรตีนสูงสามารถใช้เป็นวัตถุดิบในสูตรอาหารของไก่กระทงได้โดยส่งผลดีต่อของโภชนะ และสมรรถนะการเจริญเติบโตของไก่กระทง

Article Details

บท
บทความวิจัย (research article)

References

เกชา คูหา, รัชนี บัวระภา, สุธาทิพย์ ไชยวงศ์, วุฒิกร สระแก้ว, ปิยมาสฐ์ ตัณฑ์เจริญรัตน์ และลักษมี กาถม. 2564. นวัตกรรมการผลิตวัตถุดิบดัดแปลงข้าวโพดมอลต์ยีสต์ malt-sactic เพื่อเป็นแหล่งพลังงานโปรตีนสูงร่วมกับการพัฒนาอาหารหยาบจากวัสดุเศษเหลือจากข้าวโพดในรูปของ corn-sactic : บูรณาการวิจัยเชิงผลผลิตร่วมกลุ่มเกษตรกรกลุ่มผู้เลี้ยงสัตว์ปีก แพะและโคเนื้อจังหวัดน่าน. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนฐานราก สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน. น่าน.

นิลวรรณ เพชระบูรณิน. 2548. พลังแห่งเอนไซม์บําบัด. กรุงเทพ:วงพิมพ์. กรุงเทพฯ.

พิทักษ์ชัย ลี้ประดิษฐ์. 2564. ผลของการใช้เมล็ดข้าวโพดมอลต์แซคติคในสูตรอาหารต่อปริมาณการกินได้ การย่อยได้และสมรรถนะการเจริญเติบโตในโคเนื้อสาวทดแทน. ปัญหาพิเศษ ปริญญาวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน. น่าน.

ยุวเรศ เรืองพานิช และพิเชษฐ ศรีบุญยงค์. 2562. ผลของการใช้โปรไบโอติก (GUT PRO) ต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโตและสัณฐานวิทยาของลำไส้ของไก่เนื้อ. วารสารสัตวแพทย์มหานครสาร. 14(1): 23-32.

รัชนี บัวระภา, เกชา คูหา, กฤษณธร สินตะละ, วุฒิกร สระแก้ว และธนนันท์ ศุภกิจจานนท์. 2564. ผลของการใช้เมล็ดข้าวโพดผ่านการแปรสภาพด้วยกรรมวิธีต่างกัน เป็นแหล่งพลังงานในอาหารผสมสําเร็จต่อประสิทธิภาพการย่อยสลายของเหลวจากกระเพาะรูเมน และพลังงานที่ใช้ประโยชน์ได้โดยใช้เทคนิคผลผลิตแก๊สในหลอดทดลอง. วารสารแก่นเกษตร. 49(5): 1080-1091.

วุฒิกร สระแก้ว, พิทักษ์ชัย ลี้ประดิษฐ์, สุธาทิพย์ไชยวงศ์, รัชนีบัวระภา, กฤษณธร สินตะละ และเกชา คูหา. 2564. การผลิตข้าวโพดมอลต์หมักต่อองค์ประกอบทางเคมีและจลนศาสตร์การผลิตแก๊สโดยวิธีการ in vitro gas production technique. วารสารแก่นเกษตร. 48(ฉบับพิเศษ1): 496-501.

สุชน ตั้งทวีวิพัฒน์, เทิดชัย เวียรศิล์ป และบุญล้อม ชีวอิสระกุล. 2531. การหาค่าพลังงานที่ใช้ประโยชน์ได้ของข้าวเปลือกบด และถั่วมะแฮะบด โดยวิธีการแทนที่ของอาหารเปรียบเทียบและการใช้เป็นอาหารเดี่ยวในสัตว์ปีก. วารสารเกษตร. 4(2): 108-121.

อัคกะบัทคาน ปาทาน. 2540. การผลิตมอลโทเดกซ์ทรีนโดยใช้มอลท์ธัญพืช. วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเคมีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่.

Adedokun, S., P. Jaynes, R. Payne, and T. Applegate. 2015. Standardized ileal amino acid digestibility of corn, corn distillers’ dried grains with solubles, wheat middlings, and bakery by-products in broilerss and laying hens. Journal of Poultry Science. 94: 2480-2487.

AOAC. 1995. Official Method of Analysis. 19th Edition. Association of Official Analytical Chemist, Washington, DC.

AOAC. 2000. Official Method of Analysis of AOAC International. 17th Edition. Association of Official Analytical Chemists, Virginia.

Bai, K., Q. Huang, J. Zhang, J. He, J. Zhang, and T. Wang. 2017. Supplemental effects of probiotic Bacillus subtilis on growth performance, antioxidant capacity, and meat quality of broilers chickens. Journal of Industrial Microbiology and Biotechnology. 96: 74-82.

Bureenok, S., M. Tamaki, Y. Kawamoto, and T. Nakada. 2007. Additive effects of green tea on fermented juice of the epiphytic lactic acid bacteria (FJLB) and the fermentative quality of Rhodes grass silage. Asian-Australasian Journal of Animal Science. 20: 920-924.

Chen, P., L. Zhu, and H. Qui. 2017. Isolation and Probiotic potential of Lactobacillus salivarius and Pediococcus pentosaceus in specific pathogen free chickens. Brazilian Journal of Poultry Science. 19(2): 325-332.

Hynes, S. H., D. M. Kjarsgaard, K. C. Thomas, and W. M. Ingledew. 1997. Use of virginiamycin to control the growth of lactic acid bacteria during alcoholic fermentation. Journal of Industrial Microbiology and Biotechnology. 18: 284-291.

Kuprys-Caruk, M., M. Michalczuk, and B. Chabłowska. 2019. Comparison of the effect of lactic acid bacteria added to feed or water on growth performance, health status and gut microbiota of chickens broilerss. Journal of Animal Science. 58(1): 55–67.

Li, L. L., Z. P. Hou, T. J. Li, G. Y. Wu, R. L. Huang, Z. R. Tang, C. B. Yang, J. Gong, H. Yu, and X. F. Kong. 2008. Effects of dietary probiotic supplementation on ileal digestibility of nutrients and growth performance in 1- to 42-day-old broilerss. Journal of the Science of Food and Agriculture. 88: 35-42.

Lunsin, R., D. Sokantat, and L. Manop. 2021. Improving the nutritive values of corn dust by urea and molasses treatment as ruminant feed. Khon Kaen Agriculture Journal. 48(Suppl.1): 517-521.

Giannenas, I., D. Tontis, E. Tsalie, E. F. Chronis, D. Doukas, and I. Kyriazakis. 2010. Influence of dietary mushroom Agaricus bisporus on intestinal morphology and microflora composition on broilers chickens. Journal of Veterinary Science. 89: 78-84.

Makivic, L., M. Glisic, M. Boskovic, J. Djordjevic, R. Markovic, M. Baltic, and D. Sefer. 2019. Performances, ileal and cecal microbial populations and histological characteristics in broilerss fed diets supplemented with lignocellulose. Journal of Kafkas Universitesi Veteriner Fakultesi Dergisi. 25: 83-89.

Mountzouris, K. C., P. Tsirsikos, I. Palamidi, A. Arvanniti, M. Mohnl, G. Schatmayr, and K. Fegeros. 2010. Effect of probiotic inclusion level in broilers nutrition on growth performance, nutrient digestibility, plasma immunoglobulin, and cecal microflora composition. Journal of Poultry Science. 89: 588-593.

NRC. 1994. Nutrient Requirement of Poultry. 9th Edition. Washington, D. C.

Qingming, Y., P. Xianhui, K. Weibao, Y. Hong, S. Yidan, Z. Li, Z. Yanan, Y. Yuling, D. Lan, and L. Guoan. 2010. Antioxidant activities of malt extract from barley (Hordeum vulgare L.) toward various oxidative stress in vitro and in vivo. Food Chemistry. 118: 84-89.

SAS. 1998. User's Guide: Statistic, Version 6, 12th Edition. SAS Inst. Inc., Cary, NC.

Sedghi, M., and R. K. Akbari Moghaddam. 2018. Effects of dietary supplementation of barley malt extract and malt vinegar on growth performance, jejunal morphology and meat quality of broilers chickens. Journal of Poultry Science. 6 (2): 129-137.

Sedghi, M., E. M. Dalvi, A. H. Mahdavi, and R. Ghasemi. 2022. Effects of barley malt extract on performance, immune responses and jejunal histology of laying hens. Iranian Journal of Animal Science Research. 13(4): 601-614.

Sharifi, S. D., A. Dibamerhr, H. Lotfollahian, and B. Baurhoo. 2012. Effects of flavomycin and probiotic supplementation to diets containing different sources of growth performance, intestinal morphology, apparent metabolizable energy, and fat digestibility in broilers chickens. Journal of Poultry Science. 91: 918-927.

Svihus, B. 2011. Limitations to wheat starch digestion in growing broiler chickens: A brief review. Journal of Animal Production Science. 51: 583–589.

Teeter, R. G., M. O. Smith, and E. Murray. 1982. Force feeding methodology and equipment for poultry. Journal of Poultry Science. 63: 573-575.

Thongnum, A., P. Khongphetsak, W. Sarkaew, S. Poojit, S. Potirahong, and C. Wachirapakorn. 2018. Effects of fiber feed improvement with urea on chemical composition and kinetic ruminal gas production of both rice straw and sugar cane top. In: The 7th National Animal Science Conference of Thailand 2018 (NASCoT 2018). 22-24 August 2018. Chiangmai, Thailand.

Zhou, X., Y. Wang, Q. Gu, and W. Li. 2010. Effect of dietary probiotic, Bacillus coagulans, on growth performance, chemical composition, and meat quality of Guangxi Yellow chicken. Journal of Poultry Science. 89: 588-593.

Zuber, T., and M. Rodehutscord. 2017. Variability in amino acid digestibility and metabolizable energy of corn studied in cecectomized laying hens. Journal of Poultry Science. 96: 1696-1706.