การเหนี่ยวนำเพศเมียให้แก่ปลาอีกง (Mystus gulio) ด้วยวิธีแช่ไข่ในฮอร์โมน 17 b-estradiol

Main Article Content

นิภาพร จุฬารมย์
พัชรา นิธิโรจน์ภักดี
อโนชา กิริยากิจ
กิติพงษ์ สุวรรณเกตุ

บทคัดย่อ

การทดลองเหนี่ยวนำเพศเมียให้แก่ปลาอีกง (Mystus gulio) โดยวิธีแช่ไข่ปลาในสารละลายฮอร์โมน 17 β-estradiol ที่ความเข้มข้นต่างกัน 4 ระดับ ได้แก่  0 (ชุดควบคุม), 100, 200 และ 400 มค./ล เป็นเวลา 4 วัน ใช้อัตราการแช่ไข่ 100 ฟองต่อลิตร แล้วจึงย้ายลูกปลาวัยอ่อนไปอนุบาลต่อในบ่อซีเมนต์ที่มีความจุน้ำ 170 ลิตร เป็นระยะเวลา 60 วัน วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (completely randomized design: CRD) ทำ 4 ซ้ำ ผลพบว่า ลูกปลาอีกงที่ผ่านการแช่ไข่ในสารละลาย 17β-estradiol ทุกความเข้มข้น มีอัตราการฟักเป็นตัว ความยาวตัว การรอดตาย และร้อยละเพศเมีย แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ  (p> 0.05)  แต่ละชุดการทดลองมีจำนวนปลาเพศเมียคิดเป็น 62.50±5.69%, 60.00±4.71%, 58.33±3.33%, และ 60.00±5.45% ตามลำดับ การทดลองนี้สรุปว่า การแช่ไข่ปลาอีกงในสารละลาย 17β-estradiol ที่ระดับความเข้มข้น 100-400 มค./ล ไม่มีประสิทธิภาพในการเหนี่ยวนำปลาอีกงเพศเมียให้แก่ปลาอีกง

Article Details

บท
บทความวิจัย (research article)
Author Biography

อโนชา กิริยากิจ, สาขาวิชาเทคโนโลยีการประมง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี

Dr. of tech Science

References

นวลมณี พงศ์ธนา, พุทธรัตน์ เบ้าประเสริฐกุล และบัญชา ทองมี. 2538. การใช้ฮอร์โมนในการผลิตปลาสลิดเพศเมีย. วารสารการประมง. 48: 303-318.

พรศักดิ์ มัทวงศ์, ศิริภาวี เจริญวัฒนศักดิ์, บัณฑิต ยวงสร้อย และสุธี วงศ์มณีประทีป. 2556. ผลของ 17 βestradiol ต่อการเปลี่ยนเพศปลาหมอไทยระยะไข่โดยวิธีการแช่. แก่นเกษตร. 41(ฉบับพิเศษ 1): 110-115.

วิทยา ตินนังวัฒนา, อรรณพ อิ่มศิลป์ และวราภรณ์ สาลีติด. 2547. โปรตีนที่เหมาะสมในการเลี้ยงปลาอีกง. เอกสารวิชาการฉบับที่ 48/2547 สถานีประมงน้ำจืดราชบุรี สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด, กรมประมง.

วิรัช จิ๋วแหยม. 2544. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคุณภาพน้ำและการวิเคราะห์คุณภาพน้ำในบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

สุภาพร มหันต์กิจ, ยงยุทธ อุนากรสวัสดิ์ และมาลัย อิ่มศิลป์. 2549. การเลี้ยงปลาอีกงในกระชังด้วยความถี่ในการให้อาหารต่างกัน. เอกสารวิชาการฉบับที่ 75/2549 ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดเพชรบุรี สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด, กรมประมง.

สุริยัญ แสงหงส์, อัญชลี นงค์นวล, สุภาพร มหันต์กิจ และโยธิน เทิดวงศ์วรกุล. 2563. การเลี้ยงปลาอีกงในบ่อดินที่ระดับความหนาแน่นต่างกัน. เอกสารวิชาการฉบับที่ 6/2563. กองวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด, กรมประมง.

อรรณพ อิ่มศิลป์, วิทยา ตินนังวัฒนะ, ทวี วิพุทธานุมาศ และมาลัย อิ่มศิลป์. 2545. ความหนาแน่นที่เหมาะสมในการเลี้ยงปลาอีกงในกระชัง. รายงานประจำปี 2543-2545 ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดเพชรบุรี สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด, กรมประมง.

อัมพุชนี นวลแสง, วิสาขา ปุณยกนก, สุภาพร มหันต์กิจ, สุริยัญ แสงหงส์ และโยธิน เทอดวงศ์วรกุล. 2558. การเลี้ยงปลาอีกงในกระชังที่ระดับความหนาแน่นสูง. เอกสารวิชาการฉบับที่ 14/2559 กองวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด, กรมประมง.

Aktas, M., and M.A. Gence. 2011. The effect 17ß – estradiol on growth, survival and feminization of green tiger, P semisulcatus (decapoda: Penaeidae). Journal of Animal and Veterinary Advances. 10(5): 562-565.

Arslan, T., R.P. Phelps, and J.A. Osborne. 2009. Effects of estradiol-17ß or 17a-methyltestosterone administration on gonadal differentiation of largemouth bass Micropterus salmoides (Lacepede). Aquaculture Research. 40 (16): 1813-1822.

Karayucel, I., O.K. Orhan, and S. Karayucel. 2006. Effect of different levels of 17α methyltestosterone on growth and survival of Angelfish (Pterophyllum scalare Lieechtenstein, 1923) fry. Journal of Animal and Veterinary. 5: 244-248.

Kim, D.S., Y.K. Nam, and J.Y. Jo. 2008. Effect 17ß – estradiol immersion treatments on sex reversal of mud loach, Misgurnus mizolepis (Gunther). Aquaculture. Ressearch. 28: 941-946.

Kirankumar, S., V. Anaty, and T.J. Pandian. 2003. Hormonal induction of super male golden rosy barb and isolation of Y-chromosome specific markers. Genneral and Comparative Endocrinology. 134(1): 62-71.

Carvalho, C., G. Passini, W. Costa, B.N. Vieira, and V.R. Cerqueira. 2014. Effect of estradiol-17β on the sex ratio, growth and survival of juvenile common snook (Centropomus undecimalis). Acta Scientiarum Animal Sciences. 36(3): 239-245.

Haniffa, M. A., S. Sridhar, and M. Nagarajan. 2004. Hormonal manipulation of sex in stinging catfish Heteropneustes fossilis (Bloch). Current Science. 86(7): 1012-1017.

Hendry, C., D.J. Martin-Robichaud, and T. Benfey. 2003. Hormonal sex reversal of Atlantic halibut ( Hippoglossus hippoglossus L.). Aquaculture. 219(1): 769-781.

Hossain, H., M.M. Rahman, and S. Afruj. 2002. Effects of Different Levels of Estradiol-17β on Growth, Survival and Sex-ratio of African Catfish (Clarias gariepinus, Burchell). Pakistan Journal of Biological Sciences. 5: 355-358.

Hosseinzade, H., A.K. Rahimi, F. Askari, T. Bashti, and D. Zargham. 2011. Dietary effects of 17-β estradiol on sex reversal of rainbow trout (Oncorhynchus mykiss) in early larval stage. Advances in Environmental Biology. 5(8): 2100-2106.

Johnson, R., J. Wolf, and T. Braunbeck. 2009. OECD Guidance Document for the Diagnosis of Endocrine Related Histopathology of Fish Gonads. Organization for Economic Co-operation and Development, France.

Park, I.S., J.H. Kim, S.H. Cho, and D.S. Kim. 2004. Sex differentiation and hormonal sex reversal in the bagrid catfish Pseudobagrus fulvidraco (Richardson). Aquaculture. 232: 183-193.

Piferrer, F. 2001. Endocrine sex control strategies for the feminization of teleost fish. Aquaculture. 197: 229-281.

Sun, S.X., J.L. Wu, H.B. Lv, H.Y. Zhang, J. Zhang, S.M. Limbu, F. Qiao, L.Q. Chen, Y. Yang, M.L. Zhang, and Z.Y. Du. 2020. Environmental estrogen exposure converts lipid metabolism in male fish to a female pattern mediated by AMPK and mTOR signaling pathways. Journal of Hazardous Materials. 394: 122537.

Wang, H.-P., Z. Gao, B. Beres, J. Ottobre, G. Wallat, L. Tiu, and H. Yao. 2008. Effects of estradiol-17β on survival, growth performance, sex reversal and gonadal structure of bluegill sunfish Lepomis macrochirus. Aquaculture. 285(1-4): 216-223.