แนวความคิดการมุ่งเน้นตลาดกับการสร้างนวัตกรรมการให้บริการของธุรกิจการกีฬาประเภทฟิตเนสเซ็นเตอร์ในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • กรธวัฒน์ สกลคฤหเดช สาขาวิชาการบริหารจัดการกีฬา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตชลบุรี

คำสำคัญ:

การมุ่งเน้นตลาด, นวัตกรรมการให้บริการ, ธุรกิจการกีฬา

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นบทความทางวิชาการ ทำการวิเคราะห์เกี่ยวกับแนวความคิดการมุ่งเน้น ตลาดที่จะนำไปสู่การสร้างนวัตกรรมการให้บริการในธุรกิจฟิตเนสเซ็นเตอร์ ซึ่งเป็นธุรกิจที่มี ความสำคัญต่อการจ้างงานในหลากหลายวิชาชีพในธุรกิจการกีฬาของประเทศไทย และยังเป็น ตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ อัตราการขยายตัวของฟิตเนสเซ็นเตอร์ในประเทศไทยมี การขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ทำให้การแข่งขันเพิ่มสูงขึ้น การพัฒนานวัตกรรมในการให้บริการ จึงเป็นสิ่งสำคัญในการดำเนินธุรกิจฟิตเนสเซ็นเตอร์ การมุ่งเน้นตลาดให้ความสำคัญกับการที่ธุรกิจมีความสามารถในการค้นหาข้อมูล การบูรณาการข้อมูลและการตอบสนองข้อมูลนั้นกลับไปที่ตลาดหรือกลุ่มลูกค้า กระบวนการมุ่งเน้น ตลาดเป็นปัจจัยที่จะสร้างนวัตกรรมให้กับธุรกิจฟิตเนสเซ็นเตอร์ที่สอดคล้องกับความต้องการ ของตลาด กล่าวคือ เป็นนวัตกรรมที่เป็นเชิงพาณิชย์ ทั้งในด้านสภาพแวดล้อม การสร้างนวัตกรรม การพัฒนานวัตกรรมแบบเฉียบพลันเพื่อตอบสนองตลาดให้เร็วที่สุดและการพัฒนานวัตกรรม แบบค่อยเป็นค่อยไปเพื่อสร้างนวัตกรรมทางการแข่งขันในระยะยาว

References

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2561). ธุรกิจกีฬา: บทวิเคราะห์ธุรกิจประจำเดือนกันยายน 2561. สืบค้นเมื่อ 9 เมษายน 2562, จาก https://www.dbd.go.th/download/document_file/Statisic/2561/T26/T26_201809.pdf.

ธนุตร์ เอี่ยมอร่าม. (2560). ความคิดเห็นที่ยึดถือทรัพยากรขององค์การธุรกิจ: การประเมินคุณค่าของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 11(24), 24-39.

ธิดารัตน์ ลีลายุวัฒน์. (2557). การศึกษาปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการธุรกิจฟิตเนสเซ็นเตอร์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย (บัณฑิตวิทยาลัย). มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง, เชียงราย.

ประชาชาติธุรกิจ. (2562). ธุรกิจกีฬาอู้ฟู่สะพัดแสนล้าน ฟิตเนสเซ็นเตอร์ สนามเช่าสะพรั่งรับดีมานด์ทะลัก. สืบค้นเมื่อ 9 เมษายน 2562, จาก https://www.prachachat.net/marketing/news-61764.

ปรารถนา หลีกภัย. (2555). ผลของการมุ่งเน้นความเป็นผู้ประกอบการ การมุ่งเน้นตลาดและการมุ่งเน้นการเรียนรู้ ที่มีต่อความสามารถทางนวัตกรรมองค์กร. วารสารวิทยาการจัดการ, 29(1), 54-72.

ผู้จัดการออนไลน์. (2562). ทรูฟิตเนสเซ็นเตอร์ ขึ้นราคา เมินซื้อกิจการคู่แข่ง. สืบค้นเมื่อ 9 เมษายน 2562, จาก http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?ewsID=9550000088947.

พยัต วุฒิรงค์. (2557). กรอบแนวคิดการพัฒนาความสามารถในการสร้างสรรค์ นวัตกรรมองค์การ: การบูรณาการแนวคิดทรัพยากรที่มีคุณค่าเฉพาะขององค์การและองค์การแห่งการเรียนรู้. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์, 54(1), 16–31.

พัฒนา เทวนิยมพันธ์. (2551). กลยุทธ์การตั้งราคาของธุรกิจฟิตเนสเซ็นเตอร์. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. (2544). ธุรกิจตลาดกีฬา. สืบค้นเมื่อ 9 เมษายน 2562, จาก http://www.rangsun.econ.tu.ac.th/data/06/02-07/44-09-ธุรกิจการตลาดกีฬา%20Sports%20Marketing%20Business.pdf.

รุ่งโรจน์ สงสระบุญ. (2558). รูปแบบคุณภาพบริการโดยรวม การมุ่งเน้นตลาดและนวัตกรรมทางการตลาดที่มีผลต่อการดำเนินงานของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย (วิทยานิพนธ์

ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสยาม, กรุงเทพฯ.

สมคิด จาตุศรีพิทักษ์. (2559). รองนายกรัฐมนตรี ปาฐกถาพิเศษในหัวข้อ สร้างไทยให้เข้มแข็ง: สัมมนาหอการค้าทั่วประเทศ ครั้งที่ 33, 1 ธันวาคม 2559.

สมร ดีสมเลิศ. (2558). รูปแบบปัจจัยการมุ่งเน้นตลาด ปัจจัยมุ่งเน้นการบริการ ปัจจัยด้านองค์กรและปัจจัยนวัตกรรมการบริการที่ส่งผลต่อผลประกอบการของธุรกิจสปาเพื่อสุขภาพในประเทศไทย. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 7(14), 15–29.

สำนักงานวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2557). บทความทิศทางของธุรกิจโรงแรมขนาดกลางและขนาดเล็ก. สืบค้นเมื่อ 9 เมษายน 2562, จาก www.sme.go.th.

Aldas-Manzano, J., Kuster, I. & Vila, N. (2005). Market orientation and innovation: An inter-relationship analysis. European Journal of Innovation Management, 8(4), 437-452.

Baker, W. E. & Sinkula, J. M. (1999). Learning orientation, market orientation, and innovation: Integrating and extending models of organizational performance. Journal of market focused management, 3(4), 295–308.

Cambra-Fierro, J., Hart, S., Mur, A.F., & Redondo, Y. P. (2011). Looking for performance: How innovation and strategy may affect market orientation models: Innovation:

Management, Policy & Practice, 13(2), 56–72.

Chapman, R. L., Soosay, C. & Kandampully, J. (2002). Innovation in logistic services and the new business model: A conceptual framework. Managing service quality, 12(6), 358-371.

Drucker, P.F. (1985). The discipline of innovation. Harvard Business Review: Massachusetts. Egeren, M. V. & O’Connor, S. (1998). Drivers of market orientation and performance in services firms. Journal of Services Marketing, 12(1), 39–58.

Gauzente, C. (1999). Comparing market orientation scales: A content analysis. Marketing bulletin, 3(2), 18–34.

Hooper, V. A. (2006). The impact of the alignment between information systems and marketing on business performance (Ph.D. thesis) Victoria University of Wellington, Wellington.

Ilic, D., Ostojic, S. & Damnjanovic, N. (2014). The importance of marketing innovation in new economy. Sinaidunum Journal of Applied Sciences 2014, 11(1), 34–42.

Jaworski, B. J. & Kohli, A. K. (1993). Market orientation: Antecedents and consequences. Journal of Marketing, 57, 53-70.

Jaworski, B. J., Kohli, A. K., & Sahay, A. (2000). Market-driven versus driving markets. Journal of Academy of Marketing Science, 28(1), 45-54.

Kohli, A. K., & Jaworski, B. J. (1990). Market orientation: The construct, research propositions, and managerial implications. Journal of Marketing, 54, April 1990, 115-134.

Lovelock, C, & Writz, J. (2011). Service marketing: People, technology, strategy. Journal of Service Marketing, 100-101, January, 2011, 124–151.

Narver, J. C. & Slater, S. F. (1990). The effect of a market orientation on business profitability. Journal of Marketing, 54(4), 20-35.

Nohria, N. & Gulati, R. (1996). Is slack good or bad for innovation. Academy of Management Journal. 39(5), 56–73.

Oktem, S. V. M. (2000). Market orientation and business performance in hotel industry. Istanbul, Turkey: Vocational School, TC Maltepe University.

Parng, B.C., Chen, M., & Chung, T. (2014). Innovation and alliance effects for tourism industry in Taiwan. The International Journal of Organizational Innovation, 6, January 2014, 78-93.

Peters, T. J. & Wateman, R. H. (1982). In search of excellence. Cambridge, MA: Harper and Row Publishers, Inc.

Porter, M. E. (1980). Competitive Advantage. New York: The Free Press.

Selnes, F., Jaworski, B. J., & Kohli, A. K. (1995). Market orientation in United States and Scandinavian companies. A Cross-cultural Study Journal, 1(5), 275-286.

Shoonhoven, C. B., Eisenhardt, K. M. & Lyman, K. (1990). Speeding products to market: Waiting time to first product introduction in new firms. Ithaca: Cornell University Press.

Slater, S. F., & Narver, J. C. (1995). Market orientation and the learning organization. Journal of marketing. 59, 102-131.

Street, C.T. & Cameron, A. (2007). External relationships and the small business: A review of small business alliance and network research. Journal of Small Business Management 2007. 45(2), 239–266.

Sukato, N. (2014). The implementation of market orientation and innovation in SMEs. International Journal of Academic Research in Business and Social Sciences. 4(5), May 2014, 46-67.

Tuan, N. P. & Yoshi, T. (2010). Organizational capabilities, competitive advantage and performance in supporting industries in Vietnam. Asian Academy of Management Journal, 15(1), 113-134.

Walker, J. T., Farren, G., Andrew, D., James, G. & Laura, W. (2017). Fitness center service quality model confirmation SQAS-19. Journal of Park and Recreation Administration, 35(4), 49-58.

Won, Y. J. & Kyoungho, C. (2018). Factors influencing choice when enrolling at a fitness center. Social Behavior and Personality: An International Journal, 46(6), 1043-1055.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

29-06-2020