การสร้างเสริมสุขภาวะแนวพุทธ
คำสำคัญ:
แก่นพุทธศาสนา, ลักษณะของพุทธศาสนา, ธรรม, วินัย, ภาวนา 4บทคัดย่อ
อิทธิพลของพุทธศาสนาต่อสังคมและวัฒนธรรมไทยมีนักวิชาการศึกษาเอาไว้จำนวนมาก แต่ประเด็นที่ยังมีความรู้จำกัด คือ เรื่องการสร้างเสริมสุขภาวะตามแนวพุทธ บทความนี้เป็น ความพยายามจะเติมเต็มช่องว่างทางความรู้นี้ โดยการค้นหาหลักพุทธธรรมที่เหมาะสมและเอื้อ ต่อการสร้างเสริมสุขภาวะทั้งสี่ด้าน คือ สุขภาวะทางกาย ทางจิต ทางสัมคม และทางปัญญา เหตุผลสำคัญของความพยายามนี้ คือ เนื่องจากพระพุทธศาสนาเป็นประทีปส่องทางสู่ชีวิตที่เป็นสุข พุทธธรรมน่าจะมีบทบาทสำคัญในการสร้างเสริมสุขภาวะทั้งสี่ด้าน ซึ่งเป็นเป้าหมายสำคัญของ การสร้างเสริมสุขภาวะ ทั้งในระดับบุคคลและระดับสังคม ผลการศึกษาพบว่า หลักธรรมเรื่อง ภาวนาสี่ในพุทธศาสนาสอดคล้องเป็นอย่างดีกับวัตถุประสงค์หลักของการพัฒนาสุขภาวะ ผู้เขียนจึงเสนอในที่นี้ว่า หลักธรรมเรื่องภาวนาสี่เหมาะสมอย่างยิ่งที่จะนำมาประยุกต์ใช้ในทาง นโยบายและโครงการสร้างเสริมสุขภาวะแห่งชาติ
References
พระไตรปิฎก ภาษาไทย เล่มที่ 22 ข้อ 79 สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2564 จาก https://84000.org/tipitaka/read/?22/79/121
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2558). สมาธิแบบพุทธ. นครปฐม : วัดญาณเวศกวัน.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2558). ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2559). พจนานุกรมาพุทธสาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 34). กรุงเทพฯ: มูลนิธิการศึกษาเพื่อสันติภาพ พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต).
พระไพศาล วิสาโล. (2561). สุขภาวะทางปัญญาที่เราควรรู้จัก. ใน โครงการสุขภาพคนไทย, สุขภาพคนไทย 2561 (หน้า 101-102). นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
พระราชวรมุนี, พระมงคลวชิรากร, พระมงคลธรรมวิธาน และ วีระศักดิ์ พุทธาศรี, ทพ. (บรรณาธิการ).
(2560). ธรรมนูญสุขภาพพระสงฆ์แห่งชาติ พุทธศักราช 2560. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ.
วิชัย เอกพลากร. (บรรณาธิการ). (2552). รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
วิชัย เอกพลากร. (บรรณาธิการ). (2557). รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2561). พจนานุกรมาพุทธสาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์ (พิมพ์ครั้งที่ 31). กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์. (ป. อ. ปยุตฺโต). (2560). ตามพระใหม่ไปเรียนธรรม ภาค 1-3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ผลิธัมม์ ในเครือบริษัทเพ็ทแอนด์โฮม จำกัด.
สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (2550). พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ 2550. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ.
สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (2559). ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2559. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ.
สุด แสงวิเชียร, และ เสาวรส อิ่มวิทยา. (2526). ประวัติการแพทย์และเภสัชกรรมไทย.
ใน สารานุกรมไทยฉบับเยาวชน, เล่มที่ 8, เรื่องที่ 1. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2563 จาก
http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=8&chap=1&page=t8-1-infodetail06.html
Berger, P. (2008). Secularization Falsified. First Things, Feb. Accessed on June 1, 2017 from https://www.firstthings.com/article/2008/02/002-secularization-falsified
Danforth, J. (2015). The Relevance of Religion: How Faithful People Can Change Politics. New York: Random House.
Dukas, H. and Hoffman, B. (1989). Albert Einstein, the Human Side: New Glimpses from His Archives. New Jersey: Princeton University Press.
Nietzsche, F. (2001 [1882]). The Gay Science. Cambridge: Cambridge University Press.
Omran, A. R. (2005). The Epidemiologic Transition: A Theory of the Epidemiology of Population Change. MilBank Quarterly, 83(4): 731-757.
Sacks, J. (2011). The Great Partnership: Science, Religion, and the Search for Meaning. New York: Schocken Books.
Sacks, J. (2012). “The Moral Animal”, New York Times, Dec. 23, 2012.
Wright, R. (1995). The Moral Animal: Why We Are, the Way We Are: The New Science of Evolutionary Psychology. New York: Ramdom House.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว