อิทธิพลของความถี่ในการตัดที่มีต่อผลผลิต และความคงอยู่ของหญ้าซิกแนล (<I>Brachiaria decumbens</I>)

Main Article Content

สาธิต ขันทนันท์
ถนอม ทาทอง
บุญฤา วิไลพล

บทคัดย่อ

ทำการศึกษาทดลองถึงอิทธิพลของความถี่ในการตัดที่มีต่อผลผลิตและความคงอยู่ของหญ้าซิกแนล (Brachiaria decumbens)  ที่ตัดทุก ๆ 15, 30, 45, 60 และ 90 วัน  โดยตัดที่ความสูง 1.5 นิ้ว ทำการทดลองที่เรือนทดลองของโครงการปรับ-ปรุงทุ่งหญ้า คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น  ตั้งแต่วันที่  4  เมษายน 2533 ถึงวันที่ 15 ธันวาคม 2533 รวมระยะเวลา 255 วัน  พบว่ามีความแตกต่างทางสถิติ (P< 0.01) โดยผลผลิตของหญ้าซิกแนลจะสูงที่สุด (207.42 กรัมต่อกระถาง)  เมื่อมีช่วงความถี่ในการตัดทุก ๆ 90 วัน ปริมาณโปรตีนสูงที่สุด (16.9 เปอร์เซ็นต์) เมื่อมีช่วงความถี่ในการตัดทุก ๆ 15 วัน ปริมาณคาร์โบ-ไฮเดรทที่เก็บสะสมไว้ที่รากสูงที่สุด (505.55 มิลลิกรัมต่อกรัม) และจำนวนความหนาแน่นของหญ้าซิกแนลสูงที่สุด (35 ต้นต่อกระถาง) เมื่อมีช่วงความถี่ทุก ๆ 90 วัน จากผลการทดลองนี้แสดงให้เห็นว่าผลของช่วงความถี่ในการตัดจะมีอิทธิพลต่อผลผลิต คุณค่าทางโภชนะและความคงอยู่ของหญ้าซิกแนล

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ฉายแสง ไผ่แก้ว สมจิตร อินทรมณี พิมพาพร เทวาหุดี วัชรินทร์ บุญภักดี วรพงษ์ สุริยจันทรทอง อุดา เสนากัสป์ กานดา นาคมณี และ ไพบูลย์ พลบุญ. 2528. ผลของระยะเวลาตัดที่มีต่อผลผลิตเม็ดหญ้า รูซี่, เอกสารเผยแพร่ทางวิชาการ กองอาหารสัตว์ กรมปศุสัตว์.
ชาญชัย มณีดุลย์ และ นวลมณี กาญจนพิบูลย์. 2507. ผลกระทบต่ออาหารสำรองของหญ้ามอริซัสที่ถูกตัดด้วย ระดับความถี่ต่าง ๆ กัน. รายงานผลการทดลองพืชอาหารสัตว์ งานทดลองและเผยแพร่ กองอาหารสัตว์กรมปศุสัตว์. 19 - 24.
ชาญชัย มณีดุลย์ และ นิศา โสภณ. 2510. ผลกระทบกระเทือนต่ออาหารสำรองของหญ้ากินนีอันเนี่องมาจากการตัดด้วยระดับความถี่ต่าง ๆ กัน. รายงานผลการทดลองพืชอาหารสัตว์ งานทดลองและเผยแพร่ กองอาหารสัตว์ กรมปศุสัตว์.
บุญฤา วิไลพล. 2532. หญ้าพืชอาหารสัตว์พันธุ์ใหม่สำหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร.22 (2) :119-128.
บุญฤา วิไลพล นวลจันทร์ วิไลพล และ รัช อรรคแสง. 2532. การศึกษาผลผลิตของหญ้าและถั่วพืชอาหารสัตว์ที่จังหวัดขอนแก่น. วารสารเกษตร 5(1) : 11 – 20.
ฝ่ายอำนวยการ กองอาหารสัตว์. 2545. รายงานประจำปี 2544 กองอาหารสัตว์. กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์.
สาธิต ขันทนันท์. 2528. อิทธิพลของปุ๋ยไนโตรเจนในระดับต่าง ๆ และช่วงระยะเวลาในการตัดที่มีต่อผลผลิตของหญ้ามาการิการิ. ปัญหาพิเศษระดับปริญญาตรี สาขาโคนม ภาควิชาเทคโนโลยีทางสัตว์ คณะผลิตกรรมการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้ เชียงใหม่.
สำราญ วิจิตรพันธุ์. 2531. อิทธิพลของการตัดที่มีต่อผลผลิตและคุณค่าทางโภชนะของหญ้าเฮมิล. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสัตวศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Akinola, J.O. 1981. Growth of signal grass (Brachiaria decumbens) alone and with legumes in Northern Nigeria. Trop. Grasslds., 15 (3) : 130 – 134
Anderson, B., A.G. Matches and C.J. Nelson. 1989. Carbohydrate reserves and tillering of Switch grass following clipping. Agron. J., 81: 13 – 16
A.O.A.C. 1984. Official Method of Analysis. 14th ed. Association of Official Analytical Chemists : Washington. D.C.
Bennie, R.C. and F.J. Harrington. 1972. The effect of cutting height and frequency on the productivity of Italian ryegrass sward. J. Brit. Grassld. Coc., 27 : 177 – 182.
Buwai, M. and M.J. Trilica. 1977. Defoliation effects on root weights and total nonstructural carbohydrates of blue grama and Western wheatgrass. Crop Sci. 17: 15 – 17.
Church, D.C. 1980. Digestive physiology and Nutrition of Ruminants . Vol. 3 Practical Nutrition. 2nd Edition. O & B Books Inc., USA.
Coyne, P.I. and C.W. Cook. 1970. Seasonal Carbohydrate reserve cycles in eight desert range Species. J. range Mgmt. 23 (6) : 438 – 444.
Donart, G.B. and C.W. Cook. 1970. Carbohydrate reserve content of mountain range plants following defoliation and regrowth. J. range Mgmt. 23 (1) : 15 – 19.
Dovrat, A., E. Davan and H. Van Keulon. 1980. Regrowth potential of shoot and of roots of Rhodes Grass (Chloris gayana Kunth) after defoilation. Neth. J. Agric. Sci., 28 : 185 – 199.
Ferraris, R. and M.J.T. Norman. 1976. Factors affecting the regrowth of Pennisetum americanum under frequent defoliation . Aust. J. Agric. Res. 27 : 365 – 371.
Greub, I.J. and W.F. Wedin. 1971a. Leaf area, dry matter accumulation and carbohydrate reserves of alfalfa and birdsfoot trefoil under three-cut management. Crop Sci. 11: 341 – 344.
Greub, L.J. and W.F. Wedin. 1971b. Leaf area, dry-matter production, and carbohydrate reserve levels of birdsfoot trefoil as influenced by cutting height. Crop Sci. 11 : 734 – 738.
Gutteridge, R.C. and P.C. Whiteman. 1975. Effect of defoliation frequency on growth and survival of four accessions of Psoralea eriantha. Aust. J. Exp. Agric. Anim. Hush., 15 : 493 – 497.
Holm. J. 1973. Feeding Tables Coposition and Nutritive Value of Feedstuffs in Northern Thailand.(2nd ed.). Nutrition Laboratory of the Thai-German Dairy Project, Livestock Breeding Station, Huai Kaeo, Chiang Mai.
Lowe, K.F. and T.M. Bowdler. 1988. Effects of height and frequency of defoliation on the productivity of irrigated oats (Avena strigosa cv. Saia) and perennial ryegrass (Lolium perenne cv. -Kangaroo valley), grown alone or with barrel medic (Medicago truncatula cv. Jenalong). Aust. J. Exp. Agric., 28 : 57 – 67.
Ludlow, M.M. and D.A. Charles-Edwards. 1980. Analysis of the regrowth of a tropical grass/legume sward subjected to different frequencies and intensities of defoliation. Aust. J. Agric. Res., 31 (4) : 673 – 692.
Middleton, C.H. 1982. Dry matter and nitrogen changes in five tropical grasses as influenced by cutting height and frequency. Trop. Grasslds. , 16 (3) : 112 – 117.
Monson, W.G. and G.W. Burton. 1982. Harvest frequency and fertilizer effects on yield, quality, and persistence of eight Burmuda grasses. Agron. J., 74 : 371 – 374.
Murphy, W.M., J.M. School and I. Baretto. 1977. Effect of cutting management on eight subtropical pasture mixtures. Agron. J., 69: 362-366.
Simon, J.C. and G. Lemaire. 1987. Tillering and leaf area index in grasses in the vegetative phase. grass forage Sci., 42 : 373 –380.
Smith, D. and C.J. Nelson. 1967. Growth of Birtsfoot trefoil and Alfalfa. I. Responses to height and frequency of cutting. Crop Sci., 7: 130-133.
Smith, M.A. and P.C. Whiteman. 1983. Evaluation of tropical grasses in increasing shade under coconut canopies. Expl. Agric. Camb., 19 (2) : 153-161.
Trilica, Jr., M.J. and C.W. Cook. 1972. Carbohydrate reserves of crested Wheat grass and Russian Wildrye as influenced by development and defoliation. J. Range Mgmt. 25: 430-435.
White, L.M. 1973. Carbohydrate reserves of grasses : A Review. J. Range Mgmt., 26 : 13-18.
Yoshida, S., D.A. Foruo, J.H. Cock and K.A. Gomez. 1972. Laboratory manual for physiological Studies of rice 2nd edition. The International Rice Research Institute. Los Banos, Laguna : Philippines.