การวิเคราะห์ความหลากหลายทางพันธุกรรมในบัวชั้นโดยเครื่องหมายเอเอฟแอลพี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมบัวชั้น 28 ตัวอย่างด้วย AFLP ไพรเมอร์ 4 คู่ พบว่า dendrogram แสดงความสัมพันธ์ยังไม่สามารถจำแนกบัวชั้นตามลักษณะทางสัณฐานวิทยาที่ใช้ในการจัดกลุ่มคือ สีกลีบใบประดับ และ ลักษณะกลีบใบประดับส่วนบน เมื่อนำลักษณะกลีบใบประดับ สีกลีบดอก สีก้านช่อดอก ความยาวช่อดอก และระยะห่างกลีบใบประดับมาวิเคราะห์เพิ่มเติม พบว่ากลุ่มที่จำแนกได้จาก dendrogram มีลักษณะร่วมภายในกลุ่ม หรือลักษณะเฉพาะที่ต่างไปจากกลุ่มอื่น
Article Details
บท
บทความวิจัย
References
กรมส่งเสริมการเกษตร. 2537. เอกสารวิชาการเรื่องการผลิตปทุมมาครบวงจร. กลุ่มไม้ดอก ไม้ประดับ กองส่งเสริมพืชสวน กรมส่งเสริมการเกษตร, กรุงเทพฯ. 34 น.
กัญจนา แซ่เตียว. 2539. การจำแนกกลุ่มพันธุ์ปทุมมาจากแบบแผนของไอโซไซม์. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 93 น.
จรัสศรี แก่นเมือง. 2545. การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางพันธุกรรมในพืชกลุ่มกระเจียวโดย เทคนิคอาร์เอพี-ดี. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 90 น.
รุ่งทิวา ว่องวิทยาการ. 2529. ชีววิทยาของหนวนม้วนใบถั่วเหลือง Lamprosema diemenalis Guen. (Lepidoptera : Pyralidae) และการป้องกันกำจัดบางวิธี. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา มหาวิยาลัยเชียงใหม่เชียงใหม่, เชียงใหม่. 83 น.
สุรินทร์ ปิยะโชคณากุล. 2536. พันธุศาสตร์เบื้องต้นภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 277 น.
สุรวิช วรรณไกรโรจน์. 2537. ปทุมมาและกระเจียว. น.59-71. ใน ไม้ดอกไม้ประดับเขตร้อน. กรมส่งเสริมการเกษตร, กรุงเทพฯ.
สุรวิช วรรณไกรโรจน์. 2539. ปทุมมาและกระเจียว. สำนักพิมพ์บ้านและสวน. กรุงเทพฯ. 128 น.
อุไรวรรณ อรัญวาสน์. 2540. การวิเคราะห์พันธุกรรมของพืชกลุ่มกระเจียวโดยเทคนิค Random Amplified Polymorphic DNA. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 70 น.
Apavatjrut, P., S. Anuntalabhochai, P. Sirirugsa and C. Alisi. 1999. Moleccular markers in the identification of some early flowering Curcuma L. (Zingiberaceae) species. Annals of Botany 84: 529-534.
Pujari, P. D., R. B. Patil and R. T. Sakpal. 1986. "Krishna” a high yielding variety of turmeric. Abst. Trop. Agr. 12(9): 118.
กัญจนา แซ่เตียว. 2539. การจำแนกกลุ่มพันธุ์ปทุมมาจากแบบแผนของไอโซไซม์. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 93 น.
จรัสศรี แก่นเมือง. 2545. การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางพันธุกรรมในพืชกลุ่มกระเจียวโดย เทคนิคอาร์เอพี-ดี. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 90 น.
รุ่งทิวา ว่องวิทยาการ. 2529. ชีววิทยาของหนวนม้วนใบถั่วเหลือง Lamprosema diemenalis Guen. (Lepidoptera : Pyralidae) และการป้องกันกำจัดบางวิธี. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา มหาวิยาลัยเชียงใหม่เชียงใหม่, เชียงใหม่. 83 น.
สุรินทร์ ปิยะโชคณากุล. 2536. พันธุศาสตร์เบื้องต้นภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 277 น.
สุรวิช วรรณไกรโรจน์. 2537. ปทุมมาและกระเจียว. น.59-71. ใน ไม้ดอกไม้ประดับเขตร้อน. กรมส่งเสริมการเกษตร, กรุงเทพฯ.
สุรวิช วรรณไกรโรจน์. 2539. ปทุมมาและกระเจียว. สำนักพิมพ์บ้านและสวน. กรุงเทพฯ. 128 น.
อุไรวรรณ อรัญวาสน์. 2540. การวิเคราะห์พันธุกรรมของพืชกลุ่มกระเจียวโดยเทคนิค Random Amplified Polymorphic DNA. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 70 น.
Apavatjrut, P., S. Anuntalabhochai, P. Sirirugsa and C. Alisi. 1999. Moleccular markers in the identification of some early flowering Curcuma L. (Zingiberaceae) species. Annals of Botany 84: 529-534.
Pujari, P. D., R. B. Patil and R. T. Sakpal. 1986. "Krishna” a high yielding variety of turmeric. Abst. Trop. Agr. 12(9): 118.